วันศุกร์ที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2553

'VieTrio' ชวน '9 ศิลปิน' ร่วมแจม 'VieTrio&Friends'



ขออัพเดตข่าวคราวของวงดนตรีสุดโปรดของคนเขียนสักนิดนึงนะคะ อิอิ

'VieTrio' ชวน '9 ศิลปิน' ร่วมแจม 'VieTrio&Friends'
สร้างปรากฏการณ์ให้วงการเพลงไทยด้วยการนำดนตรีคลาสสิกมาทำให้ร่วมสมัย จนเป็นที่กล่าวขวัญ!! ล่าสุด 3 พี่น้อง เป้-ป่าน-ปุย วงวีทรีโอ ก็ยังเดินหน้าทำผลงานใหม่ๆ มาฝากแฟนๆ โดยคราวนี้ได้ “9 ศิลปิน” คุณภาพ มาร่วมแจมในโปรเจ็กต์พิเศษ “VieTrio&Friends” รายละเอียดเป็นอย่างไร? หนุ่มเป้-ทวีเวท ศรีณรงค์ เป็นตัวแทนเล่าให้ฟังว่า ..

“หลังจากที่วีทรีโอเปิดตัวให้แฟนๆ ได้รู้จักเพลงของพวกเราจากอัลบั้ม “Miracle” และอัลบั้ม“Vietrio Love Birds” ซึ่งทั้งอัลบั้มจะเป็นดนตรีคลาสสิกในสไตล์วีทรีโอ คือ "Song without words" (เพลงร้องที่ไม่มีเนื้อ) พอเรามีโอกาสได้มาทำอัลบั้มชุดใหม่ เราเลยอยากทำอะไรที่แตกต่างไปจากเดิม ก็เลยไปหาไอเดียใหม่ๆ เพื่อให้เพลงของพวกเราเป็นเพลงที่ฟังง่ายและเข้าถึงคนฟังได้มากขึ้น เราจึงคิดว่าน่าจะชวนเพื่อนๆ ศิลปินมาร้องเพลงให้กับพวกเรา คอนเซ็ปต์อัลบั้มชุดนี้จึงมาลงตัวที่ดนตรีคลาลสิกที่เป็นเพลงร้องทั้งหมดครับ ใช้ชื่ออัลบั้มง่ายๆ ว่า “Vietrio&Friends” ครับ ซึ่งพวกเราได้รับเกียรติจาก 9 ศิลปินมาร่วมถ่ายทอดบทเพลงเพราะๆ คนละหนึ่งเพลง ได้แก่ นัท มีเรีย, เจมส์-เรืองศักดิ์, รุจ-ศุภรุจ, แก้ม-วิชญาณี, พีท เดอะสตาร์, ดิว-พงศธร,กัน-นภัทร, เป๊ก-ผลิตโชค และ เอ-นรินทร์ ซึ่งแต่ละคนก็ได้เพลงในสไตล์ที่ตัวเองถนัด และเรายังได้โปรดิวเซอร์ฝีมือดีหลายคนมาช่วยกันทำให้เพลงในอัลบั้มชุดนี้สมบูรณ์ขึ้นด้วยครับ โดยจะวางแผง 16 ก.ย.นี้ ก็ฝากให้แฟนๆ ลองฟังกันดู พวกเราทุกคนตั้งใจสุดฝีมือเลย รับรองว่าเพราะทุกเพลงครับ”

พี่เป้พูดเองขนาดนี้ แฟนๆของวีทรีโอ และ The friend ที่มาแจมทั้ง 9 คน ก็อย่าลืมติดตามผลงานเพลงโปรเจ็กต์พิเศษ “VieTrio&Friends” ได้ทุกแผงซีดีทั่วประเทศ 16 ก.ย.นี้จ้า


วันศุกร์ที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2553

มาทำความรู้จักกับ "เสาวรส"




ชื่อ : เสาวรส, กะทกรก, แพสชั่นฟรุต
ชื่อสามัญ : Granadilla,Purple Granadilla, Passion Fruit
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Passiflora edulis Sims.
วงศ์ : PASSIFLORACEAE

เสาวรส คุ้นกันในชื่อที่เป็นไทยอย่างยิ่งว่า “กะทกรก” และชื่อฝรั่งว่า แพสชั่นฟรุต

ผู้เขียนยังจำผลไม้ที่รสอมเปรี้ยวอมหวานได้ดี เป็นความเป็นความเปรี้ยวที่ละมุนลิ้นมาก เมื่อครั้งที่เกาะท้ายกระบะรถเพื่อนขึ้นไปเยือนเขาค้อ แล้ววิงเวียนจนแทบคายของเก่า รถแวะจอดที่จุดชมวิว มีแม่ค้าใจดีบอกว่า ให้ลองกินแพสชั่นฟรุต แล้วอาการจะดีขึ้น ลูกนี้ไม่ขายแต่ให้กินฟรี คนเขียนไม่เคยกินมาก่อน แต่พอได้ลองลิ้มเนื้อในก็ชื่นใจเป็นกำลัง ความวิงเวียนคลื่นไส้หายไปไหนไม่รู้ กลับมามองวิวทิวทัศน์ได้สวยงามเหมือนคนอื่นได้ทันที ก่อนจากมา แม่ค้าแถมให้อีก บอกเอาไปกินระหว่างทางเผื่อเมารถ ครั้งนั้นนอกจากจะได้รู้จักผลไม้ดีแล้วยังได้รับน้ำใจดีจากผู้คนให้รำลึกถึงเสมอ

สัมผัสต่อมากับแพสชั่นฟรุต รู้สึกว่าผลไม้นี้มีกลิ่นหอมกินแล้วชื่นใจจริงๆ และน่าจะมีประโยชน์ไม่น้อย ได้ซื้อหาน้ำเสาวรสที่เขาคั้นขายมาลองดื่ม รสชาติดี ดื่มแล้วปลอดโปร่างสบายเหมือนปรับสมดุลในร่างกายอย่างไรก็อย่างนั้น

เมื่อมีโอกาสไปประเทศออสเตรเลีย ก็พบว่า แพสชั่นฟรุตนั้นเป็นปีนป่ายอยู่ตามรั้วบ้านผู้คน แต่ก็ไม่ค่อยมีคนเก็บกิน ค่าที่ดกเหลือเกิน ส่วนมากมักเป็นพันธุ์ลูกสีม่วงที่รสออกหวานอร่อยมากกว่าสีเหลือง สำหรับชาวออสเตรเลียบางคนนิยมเอาแพสชั่นฟรุตมาผ่าครึ่งใช้ช้อนนตักเนื้อในเก็บไว้ในขวดแก้วแล้วแช่ตู้เย็น ตักกินวันละช้อน เห็นเพื่อนฝรั่งว่านี่ละยาอายุวัฒนะ เมื่อกลับมาบ้านผู้เขียนจึงลองทำตามดูบ้าง ไม่เลวทีเดียว เพราะบางทีผลไม้ไม่ได้มีอายุยาวนาน แต่หากเรารู้จักวิธีกินอย่างนี้ก็เป็นถนอมสิ่งดี ๆ ให้อยู่กับ (ปาก) เรานานอีกหน่อย

ตามธรรมดาคนเราหากรับประทานพืชผักผลไม้หลากชนิดก็เป็นอายุวัฒนะทั้งนั้น เมื่อความรู้ทางโภชนาการมากขึ้น เราจึงเรียนรู้ว่า พืชผักผลไม้ชนิดนั้นชนิดนี้มีสารอาหารแตกต่างกันอย่างไร และควรเลือกกินแบบใด จากที่เคยกินตามรสนิยมก็อาจเปลี่ยนเป็นมากกินตามภาวะสุขภาพของตนเอง

หากรู้สึกว่าขาดวิตามินซี เสาวรส ก็เป็นผลไม้ที่เต็มเปี่ยมไปด้วยวิตามินดังกล่าว จะกินผลสด หรือดื่มน้ำคั้นจากผลก็ได้ทั้งนั้น เมื่อได้รับวิตามินและเกลือแร่เพียงพอที่ร่างกายต้องการแล้ว ถึงตอนนี้ก็เป็นอายุวัฒนะได้





เสาวรสหรือแพสชั่นฟรุต (กะทกรก) เป็นไม้เลื้อยเนื้อแข็ง ขนาดเล็ก อายุหลายปี อาจปลูกเป็นไม้ริมรั้วหรือทำค้าง หรือซุ้มให้เลื้อยพันก็ได้ แพสชั่นฟรุตไม่เกี่ยงขอเพียงให้มีที่เลื้อยพัน คราวนี้ก็ผลิดอกออกผลกันได้ทั้งปีไม่มีหยุด

ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเวียนสลับ เป็นพู 3 พู ปลายพูแหลม โคนใบมน ขอบใบเป็นจัก แผ่นใบสีเขียวอ่อน ดอกเป็นดอกเดี่ยวเส้นผ่าศูนย์กลางดอก 6-8 เซนติเมตร กลีบเลี้ยงและกลีบดอกสีขาวหรือสีเขียว กลีบรูปรี มีรยางค์เรียงเป็นวง สีขาวปลายม่วง มีดอกตลอดปี ผลรูปร่างกลมหรือรี ผิวเป็นมัน มีเมล็ดสีดำจำนวนมาก เนื้อหุ้มเมล็ดรสเปรี้ยวอมหวาน มีกลิ่นหอม

จะเลือกปลูกชนิดใดไว้ในบ้านก็แล้วแต่ แต่โดยทั่วไปเสาวรสพันธุ์สีเหลืองมักทนทานต่อโรคและต่อสภาพภูมิอากาศได้ดีกว่า และจากที่เห็นเป็นพืชที่ปลูกอยู่ตามบ้านของชาวออสซี่ จึงน่าจะปลูกในบ้านเราในฐานะของไม้ผลและไม้ประดับสวนได้ด้วย กิ่งพันธุ์ตอนนี้มีแพร่หลายทั่วไปตามตลาดต้นไม้

วงศ์วานเครือญาติของแพสชั่นฟรุตนั้นเป็นไม้ประดับก็หลายชนิด ทั้งเถาศรีมาลาดอกแดง สร้อยไพลินและสร้อยฟ้าดอกม่วง อีกทั้งยังมีกะทกรกไทย ที่เพลินใจขึ้นอยู่ตามที่รกร้างว่างเปล่าและชายป่าเหมือนอายว่ามีดอกสวย ใครอยากชมก็ต้องลงแรงไปดูเอง กะทกรกไทยนั้นผลจะกลมกว่า ดอกเล็กกว่า แม้ผลจะมีรสหวาน แต่ก็ไม่ค่อยมีใครนิยมรับประทาน







ป.ล.คนเขียนอยากบอกว่า ตอนนี้งดเล่นเฟสบุ๊คไปพักใหญ่แล้วค่า จริงๆนะ
ว่าแต่เมื่อกี๊เล่นเอาเกือบช็อกแหนะ...เฮือกกกกกก *>_<*...จะสี่โมงแล้วกลับบ้านดีกว่า อิอิ

วันพฤหัสบดีที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2553

ข้อคิดเวลาโดนด่า

ถ้าโดนด่าว่า.........

ควาย
คุณจะเป็นคนที่มีความอดทน รูปร่างกำยำล่ำสัน คุณถือได้ว่าเป็นวีรบุรุญของชาติ เพราะบรรพบุรุษของคุณ เคยออกไปฝ่าดงธนู สู้รบปรบมือกันกับทหารพม่ามาแล้ว คุณเป็นคนกตัญญูรู้คุณคนอื่น ฉลาด และอ่อนโยน หากถึงเวลาต่อสู้ คุณก็จะฮึดสู้ใจขาดดิ้น


เหี้ย (เป็นชื่อสัตว์ชนิดหนึ่ง ต้องถือว่าไม่ใช่คำหยาบนะคะ)
คุณเป็นคนอดทน ไม่เรื่องมาก ไม่เลือกกินหากคุณโกธรคุณก็จะดุดัน แต่คุณมักไม่ระรานผู้ก่อน คุณว่ายน้ำเก่ง ดำน้ำเก่ง เเถมยังปีนต้นไม้เก่งอีกด้วย ญาติคุณที่ฟิลิบปินส์ ถือได้ว่าเป็นนักล่าตัวฉกาจเลยที่เดียว


หน้าสันตรีน
คุณเป็นคนที่มีความอดทน คุณอาจจะหน้าตาไม่ดี ผิวพรรณอาจจะหยาบกระด้างไปบ้าง แต่คุณมีความดีเผ่าพันธุ์มนุษย์จะไม่สามารถก้าวไปข้างหน้าได้ หากไม่มีคุณ อาจจะเป็นเพราะทำบุญปิดทองหลังพระ จนไม่มีใครสนใจ แต่ซักวันต้องมีคนเห็นความสำคัญของคุณอย่างแน่นอน
ปล. ปัจจุบันมีสปาสำหรับคุณโดยเฉพาะด้วย 55555555555+


สัตว์
คุณเป็นคนที่มีจิตใจ มีเลือดเนื้อ มีจิตวิญญาณ คุณเป็นสิ่งที่มีชีวิต รู้จักรัก ห่วงใย และการต่อสู้ บางทฤษฎีบอกว่ามนุษย์คือสัตว์ที่อัพเกรดแล้ว คุณคงไม่คิดว่าจะมีใครเรียกคุณว่า "ไอ้สิ่งของ" หรอกนะ


ดอกทอง
ปัจจุบันคุณรู้ไหม ทองบาทละเท่าไหร่??? อย่างที่เขาว่า "มีเงินเขานับเป็นน้อง มีทองนับเป็นพี่" อย่างน้องคุณก็ดูดีมีระดับกว่า ดอกเงิน และ ดอกทองแดงนะ


แรด
คำนี้ผู้ชายไม่ชอบใช้ ปกติจะตกอยู่กับผู้หญิง หรือไม่ก็เพศที่ 3 ที่มักจะพูดคำนี้
คุณเป็นคนที่อดทน แข็งแกร่ง อาจจะโผงผางแต่ก็มีความอ่อนโยนในตนเอง
"ไปแรด" หมายถึง คุณกำลังจะออกไปเผชิญโลกกว้าง


ค..ย
คุณคือสิ่งที่จำเป็นและสำคัญสำหรับผู้ชาย ผู้ชายส่วนมากเอ็นดูและรักคุณ คุณคือคนที่มีค่าเพราะคุณทำให้ผู้ชายและคนอื่นมีความสุขและตลอดเวลาที่ผ่านมากหากไม่มีคุณ โลกนี้ก็คงจะไม่มีเผ่าพันธ์มนุษย์และสัตว์อื่นๆอีกมากมาย


ที่กล้าเอามาลงตรงนี้ ไม่ได้ต้องการให้มันล่อแหลมแต่ประการใดเลยนะคะ แต่คำพวกนี้ ถ้าดูกันตามความจริง เราจะพบเจออยู่แล้วในชีวิตประจำวัน อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ด้วย (จริงๆนะคะ คนเขียนนี่โดนแม่ด่าคำพวกนี้จนชินล่ะ หุหุ) คนเขียนก็เลยอยากจะนำเสนอคำที่ดูว่าหยาบคายในมุมใหม่ๆดูนะคะ (ปลอบใจตัวเอง...ว่างั้น 555+)

รวม 90 ข้อคิดเพื่อความเข้าใจในชีวิต

รวม 90 ข้อคิดเพื่อความเข้าใจในชีวิต

1. เมื่อเด็กกำลังเติบโตเป็นวัยรุ่น มีความต้องการเป็นตัวของตัวเองสูง ผู้ใหญ่ที่ไม่เข้าใจและใจแคบมักจะมองว่าเด็กดื้อ
2. คนเราจิตตกได้เป็นครั้งคราว อาจทำอะไรที่ไม่เหมาะสมได้ การรู้ตัวเองและให้อภัยตัวเอง จึงเป็นสิ่งสำคัญ
3. คนอกหักไม่อาจตัดความโศกเศร้าได้ด้วยเหตุผลเพียงอย่างเดียว เวลาเป็นสิ่งสำคัญที่สุดในการเยียวยาความรู้สึกดังกล่าว
4. ให้เคารพแนวคิดของผู้อื่นบ้าง เสมือนหนึ่งเป็นอีกแนวคิดหนึ่งที่ต่างไปจากเราเท่านั้นเอง
5. ตนเองเสียเมื่อไหร่ที่คิดดี คิดชอบเป็นอยู่คนเดียว
6. ทำไปเพราะไม่รู้ ให้อภัยกันได้ รู้แล้วยังทำ คือ ความดื้อ
7. ก่อนที่จะว่ากล่าวถึงนิสัยไม่ดีของลูกนั้น ให้มองตัวพ่อแม่เองก่อนด้วยว่า เรามีส่วนผลักดันให้เขาเป็นเช่นนั้นด้วยหรือเปล่า
8. ความทุกข์ของมนุษย์ 100% เกิดจากการพยายามฝืนความจริงของธรรมชาติ
9. หากต้องอยู่กับคนที่ไม่เกรงใจกันเลย พูดกับเขาให้น้อยลง เล่นกับเขาให้น้อยลง
10. หากอยากได้อะไร ก็ควรเสียอะไรบ้าง
11. ถ้าเราปล่อยให้โลก เร่งตัวเรา ควบคุมตัวเรา จนเราขาดอิสระภาพ เราก็จะทุกข์ ถ้าเราจะเร่งโลก ควบคุมโลกให้โลกนี้เป็นไปตามความต้องการของเรา เราก็ทุกข์เช่นกัน
12. ความฉลาดอาจหลอกคนได้ ความจริงใจต่างหากที่จะชนะใจคน
13. การให้ความสำคัญกับกฎเกณฑ์มากไป ทำให้เราลืมธรรมชาติ ลืมความเป็นจริงได้ง่าย
14. อารมณ์เป็นตัวกำหนดความคิด ความคิดกำหนดพฤติกรรม หากจะเข้าใจพฤติกรรมของคนให้ถูกต้อง จึงต้องอ่านอารมณ์ให้ออก
15. การมองอะไร ว่าดี ว่าเลว ขึ้นกับว่าอารมณ์ของเราขณะนั้นเป็นอย่างไร
16. ทำอะไรก็แล้วแต่ ควรมีหลักการบ้าง แต่ต้องระวังอย่ายึดเป็นกฎเกินไป
17. อะไรจะเกิดมันก็ต้องเกิดเป็นคำพื้น ๆ ที่ใช้มาเตือนสติเราได้ดีตลอดกาล
18. การพยายามทำอะไรทุกอย่างให้ได้ การสงสัยอะไรทุกเรื่องเป็นความโง่ได้ก็เพราะว่าเรื่องต่าง ๆ ในโลกนี้มีตั้งหลายเรื่องที่ใช่ว่าเราจะรู้มันได้ง่ายและเรื่องอีกหลายเรื่อง ก็ไม่จำเป็นที่ต้องตอบให้ได้ด้วย
19. คุณธรรมส่อคุณค่าของมนุษย์มากกว่าความฉลาด
20. อะไรก็ตามแต่แม้ว่ามันจะจริง จะถูกต้อง แต่ถ้าการพูดออกไปนั้น มันไม่มีประโยชน์มีแต่ผลเสีย อย่าพูดดีกว่า
21. การขาดความเกรงใจต่อกัน ทำให้เราทะเลาะกันได้ง่าย การมีความเกรงใจต่อกันที่มากเกินไป ก็ทำให้เราไม่เป็นตัวของตัวเอง
22. ใครที่เขากล้าพูดความจริงกับเราออกมา นั่นก็เพราะเขามีความเชื่อมั่นว่าเราจะยอมรับเขาได้
23. การฝึกวินัยให้กับลูกนั้นแท้ที่จริงแล้วเป็นการฝึกวินัยให้กับพ่อแม่ด้วย
24. หากลูกเป็นคนเฉื่อยชา เราคงต้องช่วยกระตุ้นให้กำลังใจ หากลูกเป็นคนเอาจริงเอาจังเกินไป เราคงต้องช่วยสอนให้ลูกได้ปล่อยวางบ้าง กฎเกณฑ์การเลี้ยงลูกของคนๆ หนึ่ง จึงไม่เหมือนของอีกคนๆ หนึ่ง
25. เมื่อคิดจะเสนอความคิดเห็นต่าง ๆ ที่มองว่าดี ต้องมองถึงความเป็นจริง ความเป็นไปได้ด้วยเสมอ
26. แต่ละคนมีศักยภาพของตัวเองอยู่แล้ว เราจึงควรต้องให้เกียรติต่อกันบ้าง
27. เมื่อเป็นคนก้าวร้าวคนอื่นไม่เป็น ก็มักจะถูกคนอื่นรุกรานได้ง่ายเช่นกัน
28. ถ้าเราเชื่อเรื่องกรรม การตายก็ไม่ใช่วิธีการหนีปัญหาได้ตลอดไป เนื่องจากกรรมนั้น ๆ ยังไม่ได้ชดใช้ จนหมดวาระในตัวของมันเอง เกิดชาติหน้า กรรมเก่าก็จะติดตัวต่อไปอยู่ดี
29. การมองปัญหาในแง่มุมต่างกัน ในจุดต่างกันจะทำให้เข้าใจปัญหาได้ต่างกัน
30. เราจะให้อภัยตัวเอง กับผู้อื่นได้นั้น เราต้องเข้าใจในตัวเองและผู้อื่นได้ก่อน
31. การแก้ปัญหาทางบุคลิกภาพต้องอาศัยทั้งความจริงใจและการอดทนเป็นอย่างยิ่ง
32. ความเชื่อมั่นในตนเองเป็นเรื่องที่ดี แต่….ปัจจัยแห่งความสำเร็จนั้นก็หาได้ขึ้นอยู่กับเราคนเดียวไม่
33. เวลาที่พ่อแม่จะสะกิดฝีหนองให้ลูกนั้น พ่อแม่เองก็เจ็บปวดไม่น้อย
34. บางครั้งเราต้องการให้คนอื่นมาเข้าใจเรา มากกว่าที่เราอยากจะเข้าใจตัวเอง นั่นก็เพราะว่า เรายังเป็นมนุษย์ที่ยังมีความอ่อนแออยู่บ้าง
35. เรื่องที่คนเราประทับใจ มักจะลืมเลือนได้ยาก ก็เนื่องจากความประทับใจ ไม่ใช่ความจำนั่นเอง
36. จะมีเราอยู่……………………. เขาก็เป็นอย่างนั้น ไม่มีเราอยู่….……………….. เขาก็เป็นอย่างนั้น
37. หากเขาคิดจะเปลี่ยนแปลงตัวเอง จริงๆแล้ว เราเป็นได้แค่เพียงตัวกระตุ้นเท่านั้น
38. ถ้าเราเรียนรู้ธรรมะด้วยเหตุผลเพียงอย่างเดียว เราจะสัมผัส " การรู้ " ได้ยากยิ่ง
39. ความสับสนในชีวิดมันเกิด ควรหาที่ยึดเหนี่ยวให้จิตใจได้พักเสียบ้าง
40. เรื่องของชีวิต มันมีจังหวะที่ต้องรอคอยอยู่บ้าง จะเรียกร้องให้มันได้ดั่งใจเสมอ
41. พ่อแม่ หากมีความรักลูกมากไปแล้ว ก็ยากที่จะสอนวินัยให้กับลูกได้ดี
42. การเข้าใจคนอื่นได้ เป็นเรื่องที่ดี การเข้าใจตนเองได้ยิ่งเป็นเรื่องที่ดี เรื่องที่แย่ และก่อให้เกิดทุกข์ได้มากก็ คือรู้สึกว่าไม่มีใครเข้าใจเราเลย
43. กังวล เกินกว่าเหตุ… เชื่อมั่น มากเกินไป… ล้วนเป็นสิ่งที่เราต้องรู้จักตนเองอยู่เสมอ
44. การเร่งแก้ปัญหา โดยรีบคิดให้ตกทันที จะยิ่งสร้างปัญหาทางอารมณ์ได้มากยิ่งขึ้น
45. อย่าทำลายความหวังของใคร เพราะเขาอาจเหลืออยู่แค่นั้นก็ได้
46. เมื่อมีคนเล่าว่าตัวเขามีส่วนในเหตุการณ์สำคัญอะไรก็ตาม เราไม่ต้องไปคุยทับ ปล่อยเขาฟุ้งไปตามสบาย
47. รู้จักฟังให้ดี โอกาสทองบางทีมันก็มาถึงแบบแว่ว ๆ เท่านั้น
48. หยุดอ่านคำอธิบายสถานที่ทางประวัติศาสตร์ซึ่งอยู่ตามริมทางเสียบ้าง
49. จะคิดการใดจงคิดการให้ใหญ่ ๆ เข้าไว้ แต่เติมความสุขสนุกสนานลงไปด้วยเล็กน้อย
50. หัดทำสิ่งดี ๆ ให้กับผู้อื่นจนเป็นนิสัย โดยไม่จำเป็นต้องให้เขารับรู้
51. จำไว้ว่าข่าวทุกชนิดล้วนถูกบิดเบือนมาแล้วทั้งนั้น
52. เวลาเล่นเกมกับเด็ก ๆ ก็ปล่อยให้แกชนะไปเถิด
53. ใครจะวิจารณ์เรายังไงก็ช่าง ไม่ต้องไปเสียเวลาตอบโต้
54. ให้โอกาสผู้อื่นเป็นครั้งที่ “สอง” แต่อย่าให้ถึง “สาม”
55. อย่าวิจารณ์นายจ้าง ถ้าทำงานกับเขาแล้วไม่มีความสุขก็ลาออกซะ
56. ทำตัวให้สบาย อย่าคิดมาก ถ้าไม่ใช่เรื่องคอขาดบาดตายแล้ว อะไร ๆ มันก็ไม่ได้สำคัญอย่างที่คิดไว้ทีแรกหรอก
57. ใช้เวลาน้อย ๆ ในการคิดว่า “ใคร” เป็นคนถูก แต่ใช้เวลาให้มากในการคิดว่า “อะไร” คือสิ่งที่ถูก
58. เราไม่ได้ต่อสู้กับ “คนโหดร้าย” แต่เราต่อสู้กับ “ความโหดร้าย” ในตัวคน
59. คิดให้รอบคอบก่อนจะให้เพื่อนต้องมีภาระในการรักษาความลับ
60. เมื่อมีใครสวมกอดคุณ ให้เขาเป็นฝ่ายปล่อยก่อน
61. ยอมที่จะแพ้ในสงครามย่อย ๆ เมื่อการแพ้นั้นจะทำให้เราชนะสงครามใหญ่
62. เป็นคนถ่อมตน …คนเขาทำอะไรต่ออะไรสำเร็จกันมามากมายแล้วตั้งแต่เรายังไม่เกิด
63. ไม่ว่าจะตกอยู่ในสถานการณ์อันเลวร้ายเพียงใด …สุขุมเยือกเย็นเข้าไว้
64. อย่าไปหวังเลยว่าชีวิตนี้จะมีความยุติธรรม
65. อย่าให้ปัญหาของเราทำให้คนอื่นเขาเบื่อหน่าย ถ้ามีใครมาถามเราว่า “เป็นยังไงบ้างตอนนี้” ก็บอกเขาไปเลยว่า “สบายมาก”
66. อย่าพูดว่ามีเวลาไม่พอ เพราะเวลาที่คุณมีมันก็วันละยี่สิบสี่ชั่วโมง เท่า ๆ กับที่ หลุยส์ ปาสเตอร์ , ไมเคิลแอนเจลโล , แม่ชีเทเรซา , ลีโอนาร์โด ดา วินชี, ทอมัส เจฟเฟอร์สัน หรืออัลเบิร์ต ไอสไตน์ มี
67. เป็นคนใจกล้าและเด็ดเดี่ยว เมื่อเหลียวกลับไปดูอดีต เราจะเสียใจในสิ่งที่อยากทำแล้วไม่ได้ทำ มากกว่าเสียใจในสิ่งที่ทำไปแล้ว
68. ประเมินตนเองด้วยมาตรฐานของตัวเอง ไม่ใช่ด้วยมาตรฐานของคนอื่น
69. จริงจังและเคี่ยวเข็ญต่อตนเอง แต่อ่อนโยนและผ่อนปรนต่อผู้อื่น
70. อย่าระดมสมอง เพราะไอเดียดี ๆ ใหม่ ๆ และยิ่งใหญ่จนสามารถเปลี่ยนแปลงโลกได้ ล้วนมาจากบุคคลที่คิดค้นอยู่แต่เพียงผู้เดียวทั้งสิ้น
71. คงไว้ซึ่งความเป็นคนเปิดเผย อ่อนโยน และอยากรู้อยากเห็น
72. ให้ความนับถือแก่ทุกคนที่ทำงานเพื่อเลี้ยงชีพ ไม่ว่างานที่เขาทำนั้นจะกระจอกงอกง่อยสักปานใด
73. คำนึงถึงการมีชีวิตให้ “กว้างขวาง” มากกว่าการมีชีวิตให้ “ยืนยาว”
74. มีมารยาทและอดทนกับคนที่สูงวัยกว่าเสมอ
75. Don't Look Down Yourself.อดีตไม่สำคัญว่าเราเป็นใคร สำคัญที่ว่าวันนี้เราต้องการเป็นใคร
76. คนเรามีความรู้สึกรัก ชอบ โกรธ เศร้า ไม่ต่างกัน ขึ้นอยู่กับว่าเวลาไหนมันจะแสดงออกมามากน้อยเพียงใดเท่านั้น
77.โลกสอนมนุษย์ว่าทุกสิ่งต้องมีการเปลี่ยนแปลง...แต่โลกก็กลับสอนให้มนุษย์ผูกพัน
78. คนที่ตลกหัวเราะสดใส ก็คือคนเดียวกับคนที่สามารถร้องไห้ฟูมฟายได้ เพียงแต่คุณจะได้เห็นหรือเปล่าเท่านั้น
79. เด็กๆ จะมองว่าผู้ใหญ่ซีเรียส ในขณะที่ผู้ใหญ่จะบอกว่า เด็กไร้สาระ เพราะเด็กไม่เคยเป็นผู้ใหญ่มาก่อน วันหนึ่งเค้าคงจะรู้ว่า
ทำไมถึงต้องมีเรื่องซีเรียส สำหรับผู้ใหญ่ซึ่งได้ผ่านวัยเด็กมาแล้วอาจจะลืมไปว่า ณ วันที่ผ่านมา"สาระ"ในชีวิตของเขา คืออะไร
80. ครอบครัวไทยมักจะเลี้ยงลูกผู้หญิงให้เป็นฝ่ายถูกเลือกคอยสั่งสอนให้ทำตัวเรียบร้อย ไม่อย่างนั้นจะไม่มีใครเลือกไปเป็นคู่ครอง...แต่ความจริงแล้วผู้ชายและผู้หญิง เราต่างเลือกซึ่งกันและกันมากกว่า
81. เพื่อนที่ดีที่สุด คือคนที่คุณสามารถนั่งอยู่ริมระเบียงด้วยกันโดยไม่พูดอะไรกันซักคำ แต่สามารถเดินจากไป ด้วยความรู้สึกเหมือนได้คุยกันอย่างประทับใจที่สุด
82.ใครหลายคนไม่กล้าเข้าไปปลอบโยนให้คำปรึกษากับเพื่อนเพราะคิดว่าเราไม่รู้จะบอกเขายังไง เพราะเราเป็นแค่เพื่อน....แต่ความจริงแล้วคุณเป็น"ตั้งเพื่อน"ต่างหาก
83. ผู้ชายที่ร้องไห้ และยอมรับว่าตัวเองร้องไห้เขาคือสุภาพบุรุษที่สุด อย่างน้อยการซื่อสัตย์กับความรู้สึกของตัวเอง... คือความกล้าหาญอย่างที่สุด
84. ก่อนที่วันนี้ คุณจะทำความรู้จักกับผู้คนใหม่ๆ อย่าลืมสำรวจตัวเองก่อนว่า ในช่วงเวลาที่ผ่านมา... ทำใครหล่นหายไปจากชีวิตหรือเปล่า
85. เงินไม่ใช่พระเจ้า แต่ทำให้เรามีทางเลือกมากขึ้น
86. มีสติ สตางค์อยู่ ก็ปลีกเวลาไปใช้เสียบ้าง อีกหน่อยไม่มีสติแต่มีสตางค์...ก็สายไปเสียแล้ว
87. เวลาที่เรารักใคร เราจะรู้สึกตัวเล็กเ หลือเกิน...เวลาใครรักเรา เราจะรู้สึกตัวใหญ่เหลือเกิน...แต่ถ้าเราเจอคนที่เรารักเขาและเขาก็รักเรา เราจะผลัดกันตัวเล็กตัวใหญ่
88. วันที่คุณเข้มแข็งและแข็งแรงพออย่าลืมเป็นผู้ฟังที่ดีให้กับคนที่มีปัญหาด้วย "เอาไหล่ให้เขาพิง เอามือให้เขาจับ".....100 คำพูดดี ดี ไม่เท่ากับ 1 สัมผัสที่มีค่าหรอกนะ
89. คุณรู้ไหมว่า อายุคนเราเฉลี่ย 76 ปีนั่นคือแค่ 3,952 อาทิตย์เท่านั้นคุณหมดเวลาไปกับการนอนถึง 1317 อาทิตย์ ซึ่งเท่ากับว่าคุณเหลือเวลาที่ใช้ดำเนินชีวิตแค่ 2,635 อาทิตย์เท่านั้นเอง
90. ลองฉลองวันเกิดกับครอบครัวสักปี แล้วคุณจะได้รู้ว่า
เมื่อตอนที่คุณร้องไห้จ้าในวันเกิดวันแรก
คนในครอบครัวคุณมีความสุขกันขนาดไหน.......

วันพฤหัสบดีที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2553

Angkor Wat

ตอนนี้ฝนกำลังตก ขออัพบล็อกฆ่าเวลาให้ฝนหยุดแล้วค่อยกลับบ้านดีกว่า เมื่อกี้อาจารย์ให้มาหา "Angkor Wat"
search ปุ๊บ ก็เจอปั้บ โธ่เอ๊ย.........นครวัด นี่เอง ปล่อยให้สงสัยอยู่ตั้งนาน 5555555555+





Angkor Wat (or Angkor Vat) (Khmer: អង្គរវត្ត) is a Hindu temple complex at Angkor, Cambodia, built for the king Suryavarman II in the early 12th century as his state temple and part of his capital city. As the best-preserved temple at the site, it is the only one to have remained a significant religious centre since its foundation — first Hindu, dedicated to the god Vishnu, then Buddhist. The temple is the epitome of the high classical style of Khmer architecture. It has become a symbol of Cambodia, appearing on its national flag, and it is the country's prime attraction for visitors.

Angkor Wat combines two basic plans of Khmer temple architecture: the temple mountain and the later galleried temple, based on early South Indian Hindu architecture, with key features such as the Jagati. It is designed to represent Mount Meru, home of the devas in Hindu mythology: within a moat and an outer wall 3.6 kilometres (2.2 mi) long are three rectangular galleries, each raised above the next. At the centre of the temple stands a quincunx of towers. Unlike most Angkorian temples, Angkor Wat is oriented to the west; scholars are divided as to the significance of this. The temple is admired for the grandeur and harmony of the architecture, its extensive bas-reliefs and for the numerous devatas (guardian spirits) adorning its walls.

The modern name, Angkor Wat, means "City Temple"; Angkor is a vernacular form of the word នគរ nokor which comes from the Sanskrit word नगर nagara meaning capital or city. wat is the Khmer word for temple. Prior to this time the temple was known as Preah Pisnulok, after the posthumous title of its founder, Suryavarman II.





History

Angkor Wat lies 5.5 km north of the modern town of Siem Reap, and a short distance south and slightly east of the previous capital, which was centred on the Baphuon. It is in an area of Cambodia where there is an important group of ancient structures. It is the southernmost of Angkor's main sites.

The initial design and construction of the temple took place in the first half of the 12th century, during the reign of Suryavarman II (ruled 1113 – c. 1150). Dedicated to Vishnu, it was built as the king's state temple and part of his capital city, which itself was seventeen times bigger than Manhattan Island. As neither the foundation stela nor any contemporary inscriptions referring to the temple have been found, its original name is unknown, but it may have been known as Vrah Vishnulok after the presiding deity. Work seems to have ended shortly after the king's death, leaving some of the bas-relief decoration unfinished. In 1177, approximately 27 years after the death of Suryavarman II, Angkor was sacked by the Chams, the traditional enemies of the Khmer. Thereafter the empire was restored by a new king, Jayavarman VII, who established a new capital and state temple (Angkor Thom and the Bayon respectively) a few kilometres to the north.

In the late 13th century, King Jayavarman VIII, who was Hindu, was deposed by his son in law, Srindravarman. Srindravarman had spent the previous 10 years in Sri Lanka becoming ordained as a Buddhist monk. Hence, the new King decided to convert the official religion of the empire from Hindu to Buddhist. Since Buddha was born and died a Hindu and since divisions between both the faiths appeared seamless, citizens were quick to follow a faith founded on tranquility without a need for material gain and power. This made the conversion relatively easy. Hence, Angkor Wat was converted from Hindu to Theravada Buddhist use, which continues to the present day. Angkor Wat is unusual among the Angkor temples in that although it was somewhat neglected after the 16th century it was never completely abandoned, its preservation being due in part to the fact that its moat also provided some protection from encroachment by the jungle.

One of the first Western visitors to the temple was Antonio da Magdalena, a Portuguese monk who visited in 1586 and said that it "is of such extraordinary construction that it is not possible to describe it with a pen, particularly since it is like no other building in the world. It has towers and decorations and all the refinements which the human genius can conceive of". However, the temple was popularised in the West only in the mid-19th century on the publication of Henri Mouhot's travel notes. The French explorer wrote of it:

"One of these temples—a rival to that of Solomon, and erected by some ancient Michelangelo—might take an honourable place beside our most beautiful buildings. It is grander than anything left to us by Greece or Rome, and presents a sad contrast to the state of barbarism in which the nation is now plunged."

Mouhot, like other early Western visitors, found it difficult to believe that the Khmers could have built the temple, and mistakenly dated it to around the same era as Rome. The true history of Angkor Wat was pieced together only from stylistic and epigraphic evidence accumulated during the subsequent clearing and restoration work carried out across the whole Angkor site.

There were no ordinary dwellings or houses or other signs of settlement including cooking utensils, weapons, or items of clothing usually found at ancient sites. Instead there is the evidence of the monuments themselves.

Angkor Wat required considerable restoration in the 20th century, mainly the removal of accumulated earth and vegetation. Work was interrupted by the civil war and Khmer Rouge control of the country during the 1970s and 1980s, but relatively little damage was done during this period other than the theft and destruction of mostly post-Angkorian statues.

The temple is a powerful symbol of Cambodia, and is a source of great national pride that has factored into Cambodia's diplomatic relations with its neighbor Thailand, France and the United States. A depiction of Angkor Wat has been a part of Cambodian national flags since the introduction of the first version circa 1863.

The splendid artistic legacy of Angkor Wat and other Khmer monuments in the Angkor region led directly to France adopting Cambodia as a protectorate on August 11, 1863. This quickly led to Cambodia reclaiming lands in the northwestern corner of the country that had been under Thai control since the Thai invasion of 1431 AD. Cambodia gained independence from France on 9 November 1953 and has controlled Angkor Wat since that time.

During the midst of the Vietnam War, Chief of State Norodom Sihanouk hosted Jacqueline Kennedy in Cambodia to fulfill her "lifelong dream of seeing Angkor Wat."

In January 2003 riots erupted in Phnom Penh when a false rumour circulated that a Thai soap opera actress had claimed that Angkor Wat belonged to Thailand.





Architecture

Site and plan
Angkor Wat, located at 13°24′45″N 103°52′0″E / 13.4125°N 103.866667°E / 13.4125; 103.866667Coordinates: 13°24′45″N 103°52′0″E / 13.4125°N 103.866667°E / 13.4125; 103.866667, is a unique combination of the temple mountain, the standard design for the empire's state temples, the later plan of concentric galleries, and influences from Orissa and the Chola of Tamil Nadu, India. The temple is a representation of Mount Meru, the home of the gods: the central quincunx of towers symbolises the five peaks of the mountain, and the walls and moat the surrounding mountain ranges and ocean.[14] Access to the upper areas of the temple was progressively more exclusive, with the laity being admitted only to the lowest level.

Unlike most Khmer temples, Angkor Wat is oriented to the west rather than the east. This has led many (including Glaize and George Coedès) to conclude that Suryavarman intended it to serve as his funerary temple. Further evidence for this view is provided by the bas-reliefs, which proceed in a counter-clockwise direction—prasavya in Hindu terminology—as this is the reverse of the normal order. Rituals take place in reverse order during Brahminic funeral services. The archaeologist Charles Higham also describes a container which may have been a funerary jar which was recovered from the central tower. It has been nominated by some as the greatest expenditure of energy on the disposal of a corpse. Freeman and Jacques, however, note that several other temples of Angkor depart from the typical eastern orientation, and suggest that Angkor Wat's alignment was due to its dedication to Vishnu, who was associated with the west.

A further interpretation of Angkor Wat has been proposed by Eleanor Mannikka. Drawing on the temple's alignment and dimensions, and on the content and arrangement of the bas-reliefs, she argues that the structure represents a claimed new era of peace under King Suryavarman II: "as the measurements of solar and lunar time cycles were built into the sacred space of Angkor Wat, this divine mandate to rule was anchored to consecrated chambers and corridors meant to perpetuate the king's power and to honor and placate the deities manifest in the heavens above." Mannikka's suggestions have been received with a mixture of interest and scepticism in academic circles. She distances herself from the speculations of others, such as Graham Hancock, that Angkor Wat is part of a representation of the constellation Draco.



Style
Angkor Wat is the prime example of the classical style of Khmer architecture—the Angkor Wat style—to which it has given its name. By the 12th century Khmer architects had become skilled and confident in the use of sandstone (rather than brick or laterite) as the main building material. Most of the visible areas are of sandstone blocks, while laterite was used for the outer wall and for hidden structural parts. The binding agent used to join the blocks is yet to be identified, although natural resins or slaked lime have been suggested.

Angkor Wat has drawn praise above all for the harmony of its design, which has been compared to the architecture of ancient Greece and Rome. According to Maurice Glaize, a mid-20th-century conservator of Angkor, the temple "attains a classic perfection by the restrained monumentality of its finely balanced elements and the precise arrangement of its proportions. It is a work of power, unity and style."

Architecturally, the elements characteristic of the style include: the ogival, redented towers shaped like lotus buds; half-galleries to broaden passageways; axial galleries connecting enclosures; and the cruciform terraces which appear along the main axis of the temple. Typical decorative elements are devatas (or apsaras), bas-reliefs, and on pediments extensive garlands and narrative scenes. The statuary of Angkor Wat is considered conservative, being more static and less graceful than earlier work.[24] Other elements of the design have been destroyed by looting and the passage of time, including gilded stucco on the towers, gilding on some figures on the bas-reliefs, and wooden ceiling panels and doors.

The Angkor Wat style was followed by that of the Bayon period, in which quality was often sacrificed to quantity. Other temples in the style are Banteay Samré, Thommanon, Chao Say Tevoda and the early temples of Preah Pithu at Angkor; outside Angkor, Beng Mealea and parts of Phanom Rung and Phimai.


Features

Outer enclosure
The outer wall, 1024 by 802 m and 4.5 m high, is surrounded by a 30 m apron of open ground and a moat 190 m wide. Access to the temple is by an earth bank to the east and a sandstone causeway to the west; the latter, the main entrance, is a later addition, possibly replacing a wooden bridge. There are gopuras at each of the cardinal points; the western is by far the largest and has three ruined towers. Glaize notes that this gopura both hides and echoes the form of the temple proper.[28] Under the southern tower is a statue of Vishnu, known as Ta Reach, which may originally have occupied the temple's central shrine. Galleries run between the towers and as far as two further entrances on either side of the gopura often referred to as "elephant gates", as they are large enough to admit those animals. These galleries have square pillars on the outer (west) side and a closed wall on the inner (east) side. The ceiling between the pillars is decorated with lotus rosettes; the west face of the wall with dancing figures; and the east face of the wall with balustered windows, dancing male figures on prancing animals, and devatas, including (south of the entrance) the only one in the temple to be showing her teeth.

The outer wall encloses a space of 820,000 square metres (203 acres), which besides the temple proper was originally occupied by the city and, to the north of the temple, the royal palace. Like all secular buildings of Angkor, these were built of perishable materials rather than of stone, so nothing remains of them except the outlines of some of the streets.[29] Most of the area is now covered by forest. A 350 m causeway connects the western gopura to the temple proper, with naga balustrades and six sets of steps leading down to the city on either side. Each side also features a library with entrances at each cardinal point, in front of the third set of stairs from the entrance, and a pond between the library and the temple itself. The ponds are later additions to the design, as is the cruciform terrace guarded by lions connecting the causeway to the central structure.

Central structure
The temple stands on a terrace raised higher than the city. It is made of three rectangular galleries rising to a central tower, each level higher than the last. Mannikka interprets these galleries as being dedicated to the king, Brahma, the moon, and Vishnu. Each gallery has a gopura at each of the points, and the two inner galleries each have towers at their corners, forming a quincunx with the central tower. Because the temple faces west, the features are all set back towards the east, leaving more space to be filled in each enclosure and gallery on the west side; for the same reason the west-facing steps are shallower than those on the other sides.

The outer gallery measures 187 by 215 m, with pavilions rather than towers at the corners. The gallery is open to the outside of the temple, with columned half-galleries extending and buttressing the structure. Connecting the outer gallery to the second enclosure on the west side is a cruciform cloister called Preah Poan (the "Hall of a Thousand Buddhas"). Buddha images were left in the cloister by pilgrims over the centuries, although most have now been removed. This area has many inscriptions relating the good deeds of pilgrims, most written in Khmer but others in Burmese and Japanese. The four small courtyards marked out by the cloister may originally have been filled with water. North and south of the cloister are libraries.

Beyond, the second and inner galleries are connected to each other and to two flanking libraries by another cruciform terrace, again a later addition. From the second level upwards, devatas abound on the walls, singly or in groups of up to four. The second-level enclosure is 100 by 115 m, and may originally have been flooded to represent the ocean around Mount Meru. Three sets of steps on each side lead up to the corner towers and gopuras of the inner gallery. The very steep stairways represent the difficulty of ascending to the kingdom of the gods. This inner gallery, called the Bakan, is a 60 m square with axial galleries connecting each gopura with the central shrine, and subsidiary shrines located below the corner towers. The roofings of the galleries are decorated with the motif of the body of a snake ending in the heads of lions or garudas. Carved lintels and pediments decorate the entrances to the galleries and to the shrines. The tower above the central shrine rises 43 m to a height of 65 m above the ground; unlike those of previous temple mountains, the central tower is raised above the surrounding four. The shrine itself, originally occupied by a statue of Vishnu and open on each side, was walled in when the temple was converted to Theravada Buddhism, the new walls featuring standing Buddhas. In 1934, the conservator George Trouvé excavated the pit beneath the central shrine: filled with sand and water it had already been robbed of its treasure, but he did find a sacred foundation deposit of gold leaf two metres above ground level.

Decoration
Integrated with the architecture of the building, and one of the causes for its fame is Angkor Wat's extensive decoration, which predominantly takes the form of bas-relief friezes. The inner walls of the outer gallery bear a series of large-scale scenes mainly depicting episodes from the Hindu epics the Ramayana and the Mahabharata. Higham has called these, "the greatest known linear arrangement of stone carving". From the north-west corner anti-clockwise, the western gallery shows the Battle of Lanka (from the Ramayana, in which Rama defeats Ravana) and the Battle of Kurukshetra (from the Mahabharata, showing the mutual annihilation of the Kaurava and Pandava clans). On the southern gallery follow the only historical scene, a procession of Suryavarman II, then the 32 hells and 37 heavens of Hindu mythology.

Glaize writes of;

"... those unfortunate souls who are to be thrown down to hell to suffer a refined cruelty which, at times, seems to be a little disproportionate to the severity of the crimes committed. So it is that people who have damaged others' property have their bones broken, that the glutton is cleaved in two, that rice thieves are afflicted with enormous bellies of hot iron, that those who picked the flowers in the garden of Shiva have their heads pierced with nails, and thieves are exposed to cold discomfort."

On the eastern gallery is one of the most celebrated scenes, the Churning of the Sea of Milk, showing 92[37] asuras and 88 devas using the serpent Vasuki to churn the sea under Vishnu's direction (Mannikka counts only 91 asuras, and explains the asymmetrical numbers as representing the number of days from the winter solstice to the spring equinox, and from the equinox to the summer solstice). It is followed by Vishnu defeating asuras (a 16th-century addition). The northern gallery shows Krishna's victory over Bana (where according to Glaize, "The workmanship is at its worst"[39]) and a battle between the Hindu gods and asuras. The north-west and south-west corner pavilions both feature much smaller-scale scenes, some unidentified but most from the Ramayana or the life of Krishna.

Construction techniques
The stones, as smooth as polished marble, were laid without mortar with very tight joints that were sometimes hard to find. The blocks were held together by mortise and tenon joints in some cases, while in others they used dovetails and gravity. The blocks were presumably put in place by a combination of elephants, coir ropes, pulleys and bamboo scaffolding. Henri Mouhot noted that most of the blocks had holes 2.5 cm in diameter and 3 cm deep, with more holes on the larger blocks. Some scholars have suggested that these were used to join them together with iron rods, but others claim they were used to hold temporary pegs to help manoeuvre them into place. The Khmer architects never made the curved arches used by the Romans. They did create a corbelled arch, but this often proved unstable and collapsed.

The monument was made out of enormous amounts of sandstone, as much as Khafre's pyramid in Egypt (over 5 million tons). This sandstone had to be transported from Mount Kulen, a quarry approximately 25 miles (40 km) to the northeast. The stone was presumably transported by raft along the Siem Reap river. This would have to have been done with care to avoid overturning the rafts with such a large amount of weight. One modern engineer estimated it would take 300 years to complete Angkor Wat today. Yet the monument was begun soon after Suryavarman came to the throne and was finished shortly after his death, no more than 40 years.

Virtually all of its surfaces, columns, lintels even roofs are carved. There are miles of reliefs illustrating scenes from Indian literature including unicorns, griffins, winged dragons pulling chariots as well as warriors following an elephant mounted leader and celestial dancing girls with elaborate hair styles. The gallery wall alone is decorated with almost 1,000 square meters of bas reliefs. Holes on some of the Angkor walls indicate that they may have been decorated with bronze sheets. These were highly prized in ancient times and were a prime target for robbers. While excavating Khajuraho, Alex Evans, a stone mason and sculptor, recreated a stone sculpture under 4 feet (1.2 m), this took about 60 days to carve. Roger Hopkins and Mark Lehner also conducted experiments to quarry limestone which took 12 quarrymen 22 days to quarry about 400 tons of stone. The labour force to quarry, transport, carve and install this much sandstone must have run into the thousands including many highly skilled artisans. The skill required to carve these sculptures was developed hundreds of years earlier, as demonstrated by some artifacts found that were dated to the seventh century before the Khmer came into power.

Angkor Wat today

The Archaeological Survey of India carried out restoration work on the temple between 1986 and 1992. Since the 1990s, Angkor Wat has seen continued conservation efforts and a massive increase in tourism. The temple is part of the Angkor World Heritage Site, established in 1992, which has provided some funding and has encouraged the Cambodian government to protect the site. The German Apsara Conservation Project (GACP) is working to protect the devatas and other bas-reliefs which decorate the temple from damage. The organization's survey found that around 20% of the devatas were in very poor condition, mainly because of natural erosion and deterioration of the stone but in part also due to earlier restoration efforts. Other work involves the repair of collapsed sections of the structure, and prevention of further collapse: the west facade of the upper level, for example, has been buttressed by scaffolding since 2002, while a Japanese team completed restoration of the north library of the outer enclosure in 2005. World Monuments Fund began work on the Churning of the Sea of Milk Gallery in 2008.

Angkor Wat has become a major tourist destination. In 2004 and 2005, government figures suggest that, respectively, 561,000 and 677,000 foreign visitors arrived in Siem Reap province, approximately 50% of all foreign tourists in Cambodia for both years. The influx of tourists has so far caused relatively little damage, other than some graffiti; ropes and wooden steps have been introduced to protect the bas-reliefs and floors, respectively. Tourism has also provided some additional funds for maintenance—as of 2000 approximately 28% of ticket revenues across the whole Angkor site was spent on the temples—although most work is carried out by foreign government-sponsored teams rather than by the Cambodian authorities.

คุณสมบัติ 50 ข้อ ของละครไทย



คนชอบดูละครน่าเน่า ลองสังเกตดูนะคะ
(ส่วนผู้เขียนไม่ชอบหรอก ไร้สาระ...:ตอนนี้กำลังดู Mr.Brain นายอัจฉริยะอยู่ เป็นเรื่องเกี่ยวกับนักประสาทวิทยาที่เก่งมากๆ ใช้ความรู้ทางประสาทวิทยาแบบแปลกๆ ไขคดีอาชญากรรม สนุกมากๆ แถมพระเอก คือ ทาคุยะ คิมูระ หล่อด้วย อิอิ ^^)


1. ถ้าคุณเป็นคนจน แม้ไม่เคยมีงานทำก็มีเงินกินข้าว และ เปลี่ยนเสื้อผ้าตลอดเรื่อง

2. โฆษณามักจะตัดกับตอนที่นางเอกกำลังถือแก้วกำลังจะจิบยานอนหลับ

3. ตัวละครแต่งหน้าตลอดเวลา แม้กระทั่ง นอนหรือป่วย ขนตาและมาสคาร่ามันโปะเต็มหน้า

4. ไม่พระเอกก็นางเอกจะมีปัญหาครอบครัว

5. พระเอกนางเอกละครไทยจะเริ่มปิ๊งกัน เพียงแค่ล้มทับกัน แต่จ้องตาเป็นประกายประมาน 3 วินาที ซะทุกเรื่อง นางเอกต้องอยู่ด้านบนด้วยนะ

6. เมื่อหลงป่า ฝนจะตก และเมื่อฝนตก จะเจอกระท่อมหรือถ้ำ และเมื่อเจอกระท่อมหรือถ้ำก็...

7. หากพระเอกโดนรุมทำร้าย ท่อนไม้เป็นอาวุธที่นางเอกจะหาได้ทุกที

8. นางร้ายที่มาในชุดแดง จะมีความร้ายระดับนางมาร

9. ตื่นมาละแปรงฟันกันน้อยมาก

10. เรื่องสำคัญอะไรก็ตามที่จะบอกกัน มักโดนตัดบทเสมอ

11. แม้ว่าพระเอกจะจบสูงมาแค่ไหนสุดท้ายก็โง่ได้อย่างมหัศจรรย์ด้วยคำพูดตัวร้าย เรียกได้ว่า พระเอกจะเชื่อทุกเรื่อง นอกจากเรื่องจริง

12. บุหรี่ เหล้า และ ยี่ห้อสินค้าโดนเซ็นเซอร์อย่างไร้สาระ แต่ตอนตบตีกัน ภาพใสแจ๋ว

13. พระเอกแขนเท่ากุ้งสามารถล้มนักเพาะกาย 4-5 คนได้มือเปล่า โดยท่าแรกมักจะเป็นเข้ามาชก และพระเอกปัดมือกัน และ โดนเตะออกไป

14. ร้องไห้หน้ายังสวย

15. เป็นธรรมดาที่จะเห็นตัวละครพูดกับตัวเอง เหมือนคนบ้า ( คิดในใจไม่เป็น )

16. ตัวร้ายมีจุดจบ 3 ประการ ตาย เป็นบ้า และ กลับมาดี ตัวร้ายไม่เคยได้ชดใช้ในสิ่งที่ทำ

17. เมื่อนางเอกปลอมตัวเป็นผู้ชาย พระเอกจะดูออกคนสุดท้าย แม้ว่าคนทั้งโลกจะดูออกตั้งแต่วินาทีเเรก

18. บ้านนกอินทรีย์เป็นสถานที่ยอดนิยมในการถ่ายละคร

19. ยิงปืนไม่เคยโดนกัน ถ้าจะโดนก็โดนหัว ไม่ก็ แขน

20. และตอนตาย หน้าตาจะยังสดสวย แม้ว่าตัวละครนั้นจะยิงสมองตัวเองตาย เลือดยังไม่เปื้อนหน้า แต่จะย้อยลงมาอย่างสวยงาม และนอนในท่าที่สวยหรู

21. นักธุรกิจ มีการประชุมน้อยมาก

22. เลขาหน้าห้องมักสวย และ เป็นสายให้กับนางร้าย

23. ไม่เคยเรียกเก็บเงินหลังจากกินข้าว

24. ท่าเต้นในผับ มีท่าเดียว

25. การตบหน้าด้วยส้นสูงเป็นที่ฮือฮามากในช่วงหนึ่ง ทำให้การตบด้วยมือดูโลโซไปในขณะหนึ่ง

26. เวลาซ่อนตัวจากผู้ร้าย ต้องมีหนึ่งคนเหยียบกิ่งไม้

27. ถุงชอปปิ้ง หรือกระเป๋าเสื้อผ้าใบใหญ่ขนาดไหน จะเบาโหวง เพราะข้างในไม่มีอะไรเลย

28. ตร. หมอ มีอย่างละคน คดีไหน โรค ก็ เจออยู่คนเดียว และ ตำรวจมักจะมาตอนจบ

29. แอบฟังคนพูดกันในห้อง ถึงห้องจะปิดอยู่ก็ได้ยิน

30. พระเอกจะเห็นเสมอเวลา นางเอกจับมือกับผู้ชาย แบบพี่น้องหรือเพื่อน แล้วก็เข้าใจผิด

31. พระเอกต้องมีเลือดกรุปเดียวกับนางเอกหรือ ญาตินางเอก แต่ห้ามบอกเชียวนะ ว่าตัวเองเป็นคนให้เลือด หนังจะจบเร็ว

32. ตอนจบพระเอก นางเอกยืนจับมือ มองหน้าักัน จูบหน้าผาก พ่อแม่ ญาติ พี่น้อง เพื่อน คนใช้.. ยืนแอบดู แล้ว ตบมือ !!!แปะๆๆ

33. คนใช้ หรือลูกจ้างเป็นตัวเดินเรื่อง ประสานช่องโหว่งที่คนดูจะไม่เข้าใจ

34. ตัวละครยังไม่ทันได้พูดความจริงจนหมด ก็ตายไปซะก่อน

35. ช่วงหลัง นางเอกกับนางร้ายจะมีนิสัยใกล้เคียงกัน

36. พระเอกจะหมั้นกับนางร้ายมาเป็นปีๆ แต่ถ้านางเอกโผล่ปุ๊บ นางร้าย มีข้อเสียปั๊บ

37. พ่อพระเอกหรือนางเอก ต้องมีเมียน้อย

38. ต้องมีคนใช้ 2 ฝ่าย ธรรมะ และอธรรม ตีกันเอง

39. ตอนจบอาจจะมีคนใดคนหนึ่งเป็นบ้า ชีจะนั่งบนเตียงผู้ป่วยพร้อมกับตุ๊กตาหนึ่งตัว

40. ตัวประกันถูกจับที่เดียวคือโกดัง และ พระเอกจะมาทันตลอดราวกับว่ามีโกดังที่เดียวในประเทศไทย

41. กระโดดบังกระสุนแทนถือเป็นสุภาพบุรุษที่สุดละ

42. เวลามีคนโทรเข้ามือถือ กล้องต้องซูมเข้าไปให้เห็นชื่อแล้วถึงจะรับโทรศัพท์ได้ เดี๋ยวคนดูไม่รู้ว่าใครโทรมา

43. ฉากงานหมั้นหรือแต่งงาน จะมีคนมาขัดจังหวะ แฉและเปิดโปงความจริง

44. ฉากเลิฟซีนมักจะอยู่ในห้องที่มีเตียงและผ้าหุ่มสีขาว

45. จูบเเล้วต้องตบ ตบแล้วต้องด่า ด่าแล้วต้องวิ่งหนีไป

46. ถ้าเป็นฝาแฝด นางเอกมักจะถูกแยกกันแต่เกิด คนนึงไปอยู่กับมหาเศรษฐี อีกคนอยู่สลัมส์ตกยาก แล้วก็ต้องสลับตัวกัน

47. เวลามีฉากข่มขืน ผญ.จะวิ่งไปล้มบนที่นอน เหมือนจะพร้อมให้ย่ำยีแล้ว

48. พ่อไปดูลูกนอน หรือ พระเอกไปดูนางเอกนอน จะห่มผ้าให้ ถึงห้องนอนจะไม่มีแอร์ หรือไม่ใช่หน้าหนาว

49. ไม่ว่าตัวละครใดๆ ที่เป็นผู้หญิง จะต้องแต่งตัวเวอร์มากๆ ไม่มีคำว่าชุดอยู่บ้าน เครื่องแต่งกายจะต้องเลิศหรูเกินมนุษย์ปกติ

50.ช่อง 3 ตอนจบ ช่อง 5 และ 7 ตอนอวสาน

5555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555+

กฎแบบนี้...เอ้อ...จริงด้วยแฮะ ^^

พอดีกำลังหาบทความส่ง อ.สุนิดา อยู่ พอดีเจอบทความนี้ แปลกดี เลยเอามาอัพลงบล็อกดีกว่า อิอิ

เหตุการณ์รอบตัวบ่อยครั้งทำให้นึกน้อยใจในโชคชะตา
เพราะมันมักเลวร้ายกว่าที่ควร
เช่น ขับรถมาเป็นสิบปีไม่เคยชนอะไร แต่พอถูกขอร้องให้ถอยรถเพื่อน ออกจากซอยไม่ถึง 30 เมตร กลับชนเสาไฟฟ้าโครมใหญ่
เหตุการณ์เลวร้ายเกิดเหมือนสวรรค์แกล้งนี้ เกิดบ่อยกับทุกคน จนมีผู้ตั้งเป็นกฎไว้ เรียกว่า กฎของเมอร์ฟี่ ความว่า ถ้ามันเคยผิดพลาด มันก็จะผิดซ้ำอีก

นอกจากกฎของเมอร์ฟี่ ยังมีกฎอื่นๆ ที่มีผู้สังเกตพบมากมาย จึงรวบรวมไว้ดังนี้

กฎความเป็นไปได้
ขนมปังทาเนยที่พลัดตกพื้น จะเอาหน้าด้านที่มีเนยคว่ำลงเสมอ
และโอกาสที่เนยตกเปื้อนพรม จะมีมากขึ้นเป็นสัดส่วนกับราคาของพรม

การดูดวง
หมอดูมักทายหลายเรื่องทั้งดีและเลว แต่เรื่องที่แม่นที่สุดคือเรื่องที่เลวที่สุด

กฎแห่งความแม่นยำ
หากขว้างก้อนหินสะเปะสะปะ มันจะพุ่งตรงเข้าหาวัตถุที่มีราคาแพงที่สุด

กฎของหาย
ของใช้ที่เราเห็นทุกวันจะหายต่อเมื่อเราต้องการใช้มัน

กฎของเมธี
เลขเด็ดที่เราไม่ซื้อ คือเลขที่จะออกงวดนั้น และหวยที่เราซื้อมักใกล้เคียงกับหวยที่ออก
หากได้บวกลบคูณหารด้วยเลขอะไรสักตัว หรือกลับหน้ากลับหลัง แต่ถ้าเราซื้อเลขกลับ มันจะออกเลขตรง และถ้าเราซื้อทั้งสองแบบมันจะไม่ออกเลย

กฎแรงโน้มถ่วง
วัตถุ 2 ชิ้นน้ำหนักไม่เท่ากัน จะตกถึงพื้นด้วย ความเร็วขนาดที่ทำลาย ทรัพย์สินได้มากที่สุดเท่าๆกัน

ข้อพิจารณาในการเลือกซื้อหนังสือ
หนังสือปกสวย เนื้อในมักห่วย หนังสือปกขี้เหร่ เนื้อในห่วยกว่า

กฎห้ามพูด
คนไทยรู้จักกฎนี้ดี จนมีสุภาษิตว่า "เข้าป่าอย่าเรียกหาเสือ" กฎมีว่า ทันทีที่คุณพูดแสดงความคาดหวัง ถ้าหวังสิ่งเลวสิ่งเลวจะมาหา และถ้าหวังสิ่งดี สิ่งเลวก็จะมาหา

กฎของโฮว์ (Howe's Law)
มนุษย์ทุกคนมักจะทำอะไรไม่สำเร็จ

กฎของไซเมอร์กี้
ถ้าคุณรื้อชิ้นส่วนออกมาประกอบใหม่จะมีน็อตเหลือเสมอ

ข้อสังเกตของอีตัวร์
รถเลนข้างๆ มักเคลื่อนตัวดีกว่าเลนของเรา

กฎการแก้ปัญหา
ในปัญหาใหญ่ๆ ที่เป็นอุปสรรคให้เราแก้ มักมีปัญหาเล็กๆ อยู่ภายใน ซึ่งพร้อมจะขยายตัวแทนที่ทันทีที่ปัญหาใหญ่ได้รับการแก้ไขลุล่วง

กฎทอง
คนมีทองคือคนออกกฎ

ธรรมชาติของมนุษย์
มนุษย์เรามีสองประเภท
ประเภทแรก คือ คนที่ชอบแยกคนเป็นสองจำพวก
ประเภทที่สอง คือ คนที่รังเกียจพวกแรก

กฎยิ่งน้อยยิ่งดีของซีกัล
คนที่มีนาฬิกาเรือนเดียว จะรู้เวลาแน่นอน
คนที่มีนาฬิกาเพิ่ม มาอีกเรือน จะไม่แน่ใจว่า เวลาใดถูกต้อง

กฎการใช้เวลาเหลื่อมล้ำ
การเริ่มต้นงานเป็นสิ่งยาก
เพราะงาน 90 % แรก จะกิน เวลาไปถึง 90% ของเวลาในโครงการ
ส่วนงาน 10% ที่เหลือจะกินเวลาอีก 90% ของเวลาในโครงการ

กฎของโอ'รีลลี
สิ่งที่เป็นไปไม่ได้ในโลกนี้ คือ การทำโต๊ะทำงานให้สะอาด

กฎของลีเบอร์แมน
นักการเมืองทุกคนโกหก แต่ไม่เป็นไรเพราะไม่มีใครฟังใคร

กฎน้ำพริกถ้วยเก่า
เสื้อผ้าตัวเก่งจะเก่าซอมซ่อทันทีที่เราได้ตัวใหม่

ข้อเท็จจริงขององค์กร
ในทุกหน่วยงานมักมีพนักงานคนหนึ่งและคนเดียว ที่มองเห็นปัญหาที่แท้จริงขององค์กร และคนๆ นี้จะถูกไล่ออกเสมอ

กฎการโต้เถียง
คนที่พูดน้อยคือคนที่รู้มาก

กฎการทำงานเป็นทีม
เมื่องานยุ่งยาก ทุกคนผละหนี

กฎการมองโลก
มนุษย์สามสิบคนในร้อยคน ชอบมองโลกในแง่ร้าย ที่เหลือมองร้ายกว่า

วันจันทร์ที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2553

วันอีสเตอร์



อีสเตอร์คือเทศกาลหนึ่งในฤดูใบไม้ผลิ

ซึ่งในประเทศที่นับถือคริสตศาสนา อีสเตอร์คือการเฉลิมฉลองวันหยุดทางศาสนาซึ่งเป็นวันที่พระเยซูคริสต์พระบุตรของพระเจ้าได้ทรงฟื้นพระชนม์ขึ้นจากความตาย แต่ นอกจากการเฉลิมฉลองเทศกาลอีสเตอร์นี้แล้วยังมีการฉลองในลักษณะประเพณีต่างๆ
และจากตำนานต่างๆซึ่งมาจากที่มาทางศาสนาที่แตกต่างกัน และไม่ได้เกี่ยวข้องกับความเชื่อทางศาสนาคริสต์

นักวิชาการทางด้านศาสนาได้ยอมรับต้นตอที่มาของคำว่าอีสเตอร์ซึ่งศึกษาโดยนักวิชาการทางด้านศาสนาชาวอังกฤษอังกฤษในศตวรรษที่8 ที่ชื่อว่าเซนต์ เบเด(St.Bede) ซึ่งเชื่อว่า ชื่อ"Easter" นั้นมาจากภาษาสแกนดิเนเวียนว่า"OSTRA" และในภาษาทิวโทนิค(ภาษาพื้นเมืองสแกนดิเนวีย)ว่า"Ostern" หรือ "Eastre" ซึ่งเป็นชื่อของเทพธิดาแห่งเทพปกรณัมผู้ที่นำฤดูใบไม้ผลิและการเจริญพันธุ์และยังเป็นผู้ที่ถูกสักการะและเฉลิมฉลองในวันที่เรียกว่าVernal Equinox(วันในฤดูใบไม้ผลิที่มีกลางวันและกลางคืนเท่าๆกันพอดี)และประเพณีที่เกี่ยวข้องกับ การฉลองเทศกาลแห่งการมีชีวิตอยู่ โดยใช้กระต่ายอีสเตอร์เป็นสัญลักษณ์และการเจริญพันธุ์ซึ่งใช้ไข่อีสเตอร์เป็นสัญญลักษณ์ซึ่งไข่เหล่านั้นถูกทาสีอย่างสดใสและสวยงามซึ่งแสดงให้เห็นถึงความหมายของแสงอาทิตย์ที่สดใสในฤดูใบไม้ผลิและถูกใช้ในการแข่งขันโยนไข่อีสเตอร์(เป็นประเพณีอย่างนึงในวันอีสเตอร์)และไข่อีสเตอร์ยังใช้มอบให้เป็นของขวัญแก่กันด้วย

การเฉลิมฉลองของชาวคริสต์ในเทศกาลอีสเตอร์ นั้นเกิดจากการนำเอาหลายประพณีมารวมกันซึ่งโดยรวมแล้วมีความเกี่ยวข้องกันระหว่างเทศกาลอีสเตอร์ และเทศกาลPassover หรือเทศกาลปัสกาของชาวยิวนั่นเอง หรืออีกชื่อนึงซึ่งชาวยุโรปชอบเรียกกันคือเทศกาลPasch ซึ่งใช้เรียกวันอีสเตอร์ในแถบยุโรปนั่นเอง

เทศกาลปัสกานั้นคือเทศกาลเฉลิมฉลอง ที่สำคัญมากในชาวยิวซึ่งเป็นการฉลองต่อเนื่องเป็นเวลา 8 วันเพื่อระลึกถึงการเดินทางมายังดินแดนแห่งพันธะสัญญา(คานาอัน)และการเป็นอิสระของชนชาติอิสราเอลจากการตกเป็นทาสในอียิปต์
ซึ่งคริสเตียนรุ่นหลังๆที่มีเชื้อสายยิวได้นำเอาประเพณีฮิบรู (ยิว)รวมถึงเทศกาลอีสเตอร์ในฐานะของเทศกาลปัสกายุคใหม่ ซึ่งเป็นการระลึกถึงพระเมสไซอาห์(พระเยซู)ซึ่งได้มีผู้เผยพระวจนะได้ทำนายไว้ล่วงหน้า (หาอ่านเพิ่มเติมได้ในเศคาริยาห์ 9:9)

เทศกาลอีสเตอร์ได้ถูกรักษาไว้โดยเคร่งครัดเริ่มโดยคริสตจักรในประเทศทางตะวันตกโดยนับเอาวันอาทิตย์แรกหลังจากวันพระจันทร์เต็มดวงซึ่งเกิดขึ้นหลังวัน Vernal Equinox (21มีนาคม) ดังนั้นวันอีสเตอร์จึงเป็นเทศกาลที่ไม่มีวันที่ที่แน่นอน แต่จะเคลื่อนไปมาทุกปีอยู่ระหว่างวันที่ 22 มีนาคม ถึง 25 เมษายน

คริสตจักรในประเทศทางตะวันตกซึ่งอยู่ใกล้กับที่เกิดของศาสนาคริสต์และยังต้องดำรงประเพณีดั้งเดิมอย่างเข้มแข็ง ได้รักษาวันอีสเตอร์ไว้ในช่วงเวลาเดียวกันกับเทศกาลปัสกา

วันอีสเตอร์ยังเป็นวันสิ้นสุดของเทศกาลมหาพรต(Lenten Season)ซึ่งครอบคลุมเวลา 46วัน ซี่งเริ่มในวันที่เรียกว่า วันพุธรับเถ้า(Ash Wednesday) และจบลงในวันอีสเตอร์ แต่เฉพาะเทศกาลมหาพรตเองนั้นมีกำหนดเวลา 40 วัน เพราะจะไม่นับวันอาทิตย์ทั้ง 6 วันรวมอยู่ในเทศกาลมหาพรตด้วย(เทศกาลมหาพรตเป็นเทศกาลของศาสนาคริสต์นิกายคาทอลิค)

สัปดาห์ศักดิ์สิทธิ์(Holy Week) คือสัปดาห์สุดท้ายของเทศกาลมหาพรต ซึ่งเริ่มต้นในวันปาล์มซันเดย์ซึ่งเป็นวันที่พระเยซูทรงเสด็จเข้ากรุงเยรูซาเลมอย่างผู้พิชิต (อ่านเพิ่มเติมได้ในมัทธิว 21:1 ถึง 11)และฝูงชนโห่ร้องต้อนรับพระองค์และได้เอาใบปาล์มโบกต้อนรับและเอาเสื้อผ้าปูลงตามทางเพื่อให้พระองค์ทรงดำเนินผ่าน เพราะพระลักษณะที่พระองค์เสด็จมานั้นตรงกับพระวจนะของพระเจ้าที่มีผู้เผยพระวจนะทำนายไว้ล่วงหน้า (เศคาริยาห์ 9:9)และในวันพฤหัสศักสิทธิ์เป็นที่ระลึกถึงวันที่พระองค์ทรงรับประทานอาหารร่วมกับสาวกของพระองค์เป็นมื้อสุดท้าย(The Last Supper)ซึ่งเกิดขึ้นในตอนเย็นก่อนวันที่พระองค์จะถูกตรึงบนไม้กางเขน และในวันศุกร์ของสัปดาห์ศักสิทธิ์นี้ถูกเรียกว่าวันศุกร์ประเสริฐ(Good Friday)ซึ่งเป็นวันที่พระองค์ทรงถูกตรีงและสิ้นพระชนม์บนไม้กางเขน สัปดาห์ศักสิทธิ์และเทศกาลมหาพรตนั้นจะสิ้นสุดพร้อมกันใน วันอาทิตย์ซึ่งเป็นวันอีสเตอร์ซึ่งเป็นวันที่พระเยซูคริสต์พระบุตรของพระเจ้าทรงฟื้นคืนพระชนม์ขี้นมาจากความตายนั่นเอง

รางวัลศิลปาธร + บทสัมภาษณ์พิเศษ อ.ชัยยุทธ โตสง่า



รางวัลศิลปาธร เป็นรางวัลที่มอบให้แก่ศิลปินร่วมสมัยสัญชาติไทย ผู้มีผลงานสร้างสรรค์อย่างต่อเนื่อง และอายุตั้งแต่ 30-50 ปี จัดโดยสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย (สศร.) กระทรวงวัฒนธรรม วัตถุประสงค์เพื่อการส่งเสริม สนับสนุน และเชิดชูเกียรติศิลปินร่วมสมัยให้ก้าวไปในเส้นทางอาชีพได้อย่างมั่นคงและมีกำลังใจในการสร้างสรรค์งานอย่างอิสระ แบ่งออกเป็น 5 สาขาคือ สาขาทัศนศิลป์ สาขาวรรณศิลป์ สาขาคีตศิลป์ สาขาภาพยนตร์ และสาขาศิลปะการแสดง เริ่มมอบรางวัลครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2547

รายชื่อผู้ได้รับรางวัล

สาขาทัศนศิลป์

ครั้งที่ 1 (2547) เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์
ครั้งที่ 2 (2548) พรชัย ใจมา
ครั้งที่ 3 (2549) ชาติชาย ปุยเปีย
ครั้งที่ 4 (2550) วสันต์ สิทธิเขตต์ ฤกษ์ฤทธิ์ ตีระวนิช พินรี สัณฑ์พิทักษ์
ครั้งที่ 5 (2551) อารยา ราษฎร์จำเริญสุข
ครั้งที่ 6 (2552) พัดยศ พุทธเจริญ สาครินทร์ เครืออ่อน
ครั้งที่ 7 (2553) นาวิน ลาวัลย์ชัยกุล

สาขาวรรณศิลป์

ครั้งที่ 1 (2547) ชาติ กอบจิตติ
ครั้งที่ 2 (2548) ศักดิ์ศิริ มีสมสืบ(กิติศักดิ์ มีสมสืบ)
ครั้งที่ 3 (2549) วินทร์ เลียววาริณ
ครั้งที่ 4 (2550) ศิริวร แก้วกาญจน์
ครั้งที่ 5 (2551) ขจรฤทธิ์ รักษา ไพวรินทร์ ขาวงาม
ครั้งที่ 6 (2552) อรสม สุทธิสาคร
ครั้งที่ 7 (2553) เสน่ห์ สังข์สุข

สาขาคีตศิลป์ (ดนตรี)

ครั้งที่ 1 (2547) ดนู ฮันตระกูล
ครั้งที่ 2 (2548) บัณฑิต อึ้งรังษี
ครั้งที่ 3 (2549) ณัฐ ยนตรรักษ์
ครั้งที่ 4 (2550) ณรงค์ ปรางค์เจริญ
ครั้งที่ 5 (2551) ณรงค์ฤทธิ์ ธรรมบุตร
ครั้งที่ 6 (2552) เด่น อยู่ประเสริฐ
ครั้งที่ 7 (2553) ชัยยุทธ โตสง่า

สาขาภาพยนตร์

ครั้งที่ 1 (2547) เป็นเอก รัตนเรือง
ครั้งที่ 2 (2548) อภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล
ครั้งที่ 3 (2549) วิศิษฏ์ ศาสนเที่ยง
ครั้งที่ 4 (2550) ธัญสก พันสิทธิวรกุล
ครั้งที่ 5 (2551) นนทรีย์ นิมิบุตร
ครั้งที่ 6 (2552) พิมพกา โตวิระ
ครั้งที่ 7 (2553) อาทิตย์ อัสสรัตน์

สาขาศิลปะการแสดง

ครั้งที่ 1 (2547) ประดิษฐ ปราสาททอง
ครั้งที่ 2 (2548) มานพ มีจำรัส
ครั้งที่ 3 (2549) พิเชษฐ์ กลั่นชื่น
ครั้งที่ 4 (2550) นิมิตร พิพิธกุล
ครั้งที่ 5 (2551) สินีนาฎ เกษประไพ
ครั้งที่ 6 (2552) ชนประคัลภ์ จันทร์เรือง
ครั้งที่ 7 (2553) นิกร แซ่ตั้ง

สาขาออกแบบเชิงสร้างสรรค์

ครั้งที่ 1 (2547) -
ครั้งที่ 2 (2548) -
ครั้งที่ 3 (2549) -
ครั้งที่ 4 (2550) -
ครั้งที่ 5 (2551) สมพิศ ฟูสกุล
ครั้งที่ 6 (2552) สมชาย จงแสง กุลภัทร์ ยันตรศาสตร์ เอกรัตน์ วงศ์จริต ปริญญา โรจน์อารยานนท์
ครั้งที่ 7 (2553) วศินบุรี สุพานิชวรภาชน์

สาขาเรขศิลป์

ครั้งที่ 1 (2547) -
ครั้งที่ 2 (2548) -
ครั้งที่ 3 (2549) -
ครั้งที่ 4 (2550) -
ครั้งที่ 5 (2551) -
ครั้งที่ 6 (2552) -
ครั้งที่ 7 (2553) ประชา สุวีรานนท์

สาขาสถาปัตยกรรม รางวัลสถาปนิกรุ่นใหม่ของสมาคมสถาปนิกสยาม

ครั้งที่ 1 (2547) -
ครั้งที่ 2 (2548) -
ครั้งที่ 3 (2549) -
ครั้งที่ 4 (2550) -
ครั้งที่ 5 (2551) -
ครั้งที่ 6 (2552) -
ครั้งที่ 7 (2553) ปฐมา หรุ่นรักวิทย์

สาขามัณฑนศิลป์

ครั้งที่ 1 (2547) -
ครั้งที่ 2 (2548) -
ครั้งที่ 3 (2549) -
ครั้งที่ 4 (2550) -
ครั้งที่ 5 (2551) -
ครั้งที่ 6 (2552) -
ครั้งที่ 7 (2553) วิฑูรย์ คุณาลังการ

รางวัลศิลปาธรกิตติคุณ

ครั้งที่ 1 (2547) -
ครั้งที่ 2 (2548) -
ครั้งที่ 3 (2549) -
ครั้งที่ 4 (2550) -
ครั้งที่ 5 (2551) สมเถา สุจริตกุล (จากสาขาคีตศิลป์)ไสยาสน์ เสมาเงิน และ สุวรรณ คงขุนเทียน (จากสาขาการออกแบบ
ครั้งที่ 6 (2552) บรูซ แกสตัน (จากสาขาคีตศิลป์)
ครั้งที่ 7 (2553) 4 ท่าน (ส่วนจะเป็นใครนั้นขอค้นหาดูอีกทีนะคะ)


และต่อจากนี้ คือบทสัมภาษณ์พิเศษ ที่ผู้เขียน(PremmieS:)ไปสัมภาษณ์ อาจารย์ ชัยยุทธ โตสง่า หรือที่รู้จักกันในนาม "ป๋อม บอยไทย" เจ้าของรางวัลศิลปาธร สาขาคีตศิลป์ ประจำปี 2553 มานะคะ

PremmieS: รู้สึกอย่างไรที่ได้รับรางวัลศิลปาธรในปีนี้คะ?

อ.ชัยยุทธ : ยินดีมากครับที่ได้รับรางวัล แต่ที่เหนือกว่านั้น การที่มีรางวัลนี้ทำให้คนไทยหันมาสนใจงานศิลปะกันมากขึ้น ทำให้จิตใจอ่อนโยน งานศิลปะทุกแขนงถ้าเราสนใจทำให้คนเรามีความสุขและสบายใจ ถึงผมจะไม่ได้รับรางวัลในปีนี้ก็มีความยินดีมากที่ภาครัฐให้ความสำคัญกับเรื่องนี้

PremmieS: อาจารย์คิดว่าผลงานของตนเอง มีความแตกต่างจากผลงานของคนอื่นๆอย่างไรบ้างคะ?

อ.ชัยยุทธ: การที่จะอธิบายถึงผลงานของตนเอง มันก็คงไม่ใช่สิ่งที่สมควรนัก เอาเป็นว่าขออนุญาตนำบทความบางส่วนจากวิกิพีเดีย ซึ่งเป็นข้อมูลที่ได้ถูกเขียนขึ้นโดยสาธารณะ และได้รับการยอมรับ มาตอบนะครับ

ลักษณะผลงาน
ผลงานดนตรีของชัยยุทธมีลักษณะเฉพาะตัวชัดเจนมาก เสียงระนาดที่เขาบรรเลงและวิธีการบรรเลงระนาดของเขามีเอกลักษณ์จดจำได้ง่ายประหนึ่งเสียงร้องเพลงของมนุษย์ ลักษณะงานที่ชัยยุทธคิดออกมาไม่ค่อยซ้ำแบบใครและหาผู้ทำเหมือนหรือคล้ายได้ยาก เพราะงานดนตรีของชัยยุทธเกิดจากการบ่มประสบการณ์ดนตรีของเขาเอง ไม่ยึดติดเกินไป ไม่หลุดกรอบเกินไป งานดนตรีของชัยยุทธเป็นที่รู้จักแพร่หลายมาจากกลุ่มคนเล่นดนตรีก่อนและจากการที่ผลงานของชัยยุทธคนทั่วไปสามารถเข้าถึงไม่ยากจึงแพร่หลายสู่การยอมรับของผู้ชมผู้ฟังดนตรีทั่วไป จนได้รางวัลสีสันอวอร์ดถึงสองครั้งในปี 2539 และ 2544 ศาสตราจารย์นายแพทย์ พูนพิศ อมาตยกุลเคยกล่าวว่าผลงานเพลงและการแสดงดนตรีที่ชัยยุทธสร้างสรรค์หลายงานมีความงามที่สามารถผลักดันให้เป็นผลงานชิ้นเอกในระดับนานาชาติได้


แต่ผู้เขียนคิดว่า การอธิบายถึงศิลปะทางดนตรีโดยใช้ภาษาเขียนนั้น คงจะบรรยายได้ไม่ดีนัก เพราะดนตรี เป็นสิ่งที่ละเอียดอ่อน และขึ้นอยู่กับสุนทรียภาพ ประสบการณ์ และความชอบส่วนตัว ของผู้ฟัง แต่อย่างน้อย ผู้เขียนก็สามารถสัมผัสได้ถึง ความรักที่จะเล่นดนตรี ที่จะถ่ายทอดความเป็นไทย วัฒนธรรม ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของประเทศ ด้วยความสามารถของคนไทย ที่ไม่ได้เป็นรองใครในโลกเลยจริงๆ... ไปที่ข้อต่อไปกันดีกว่าค่ะ ^^

PremmieS: อาจารย์คิดว่าแนวโน้มของดนตรีไทยจะไปในทิศทางไหนคะ จะมีคนสนใจมากขึ้นหรือน้อยลงบ้างหรือเปล่า?

อ.ชัยยุทธ : อันนี้ตอบยากทีเดียว แต่ในมุมมองของผมคิดว่าน่าจะดีขึ้น เพราะอีกซัก1-2ปีน่าจะเป็นช่วงเวลาที่ประเทศไทยก้าวขึ้นมาเป็นประเทศที่ได้รับความนิยมเรื่อง บันเทิงต่อจากเกาหลี หลังจากเกาหลีรุ่งเรืองต่อจากญี่ปุ่น เนื่องด้วยเรามีวัฒนธรรมและบุคลากรรวมทั้งศิลปินที่มีความสามารถพอ ถ้าเราสามัคคีกันเชื่อว่าอีกหน่อยคนทั้งโลกจะต้อง ชมซีรี่ย์ไทย สี่แผ่นดิน โดยจัดแต่งให้แม่พลอยสวยหมวยตามสมัยนิยม แบบที่เกาหลีเขาเมคขึ้นมากับซีรี่ย์ของเขา หรือละครอื่นๆของไทยอีกเยอะที่น่าสนใจ รวมทั้งดนตรีด้วย ขณะนี้ศิลปินเกาหลีที่ดังๆ จะไปแสดงที่ไหนเขาจะขอให้มีวงวัฒนธรรมของเขาไปเป็นวงเปิดการแสดงตลอด เป็นการตลาดที่ยอดเยี่ยมครับ

PremmieS: มาถึงข้อสุดท้ายแล้วค่ะ อยากให้อาจารย์ ฝากอะไรถึงวัยรุ่นไทย ทั้งที่สนใจในดนตรีไทย หรือ ศิลปะแขนงอื่นๆ ไปจนถึง วัยรุ่นทั่วๆไปสักนิดหนึ่งนะคะ

อ.ชัยยุทธ : ฝากให้เยาวชนไทยหันมาสนใจรากเหง้าของเรากันมากขึ้น และสามารถสนใจสิ่งที่เราชอบได้อยู่เป็นปกติ เช่นหันมาสนใจดนตรีไทยของชาติเราและชอบศิลปินไอดอลของคุณไปเป็นปกติ คือต้องช่วยกัน ประโยชน์โดยรวมจะย้อนกลับมาสู่คนไทยเองในที่สุดครับ
PremmieS: ต้องขอขอบคุณ อาจารย์ ชัยยุทธ โตสง่า เป็นอย่างสูงนะคะ ที่สละเวลามาให้สัมภาษณ์ในวันนี้ ขอขอบคุณจริงๆค่ะ ^^

แม่ชีเทเรซา



แม่ชีเทเรซา เกิดเมื่อวันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2453 (ค.ศ. 1910) ที่เมืองสโกเปีย จักรวรรดิออตโตมัน (ปัจจุบันคือเมืองหลวงของประเทศมาซิโดเนีย) เป็นบุตรคนสุดท้องของบิดานิโกลา (Nikola) กับมารดาเดรน (Drane Bojaxhiu) ครอบครัวชนชั้นกลางเชื้อสายอัลเบเนีย เธอมีชื่อเดิมว่า "แอ็กเนส กอนจา โบยาจู" (Agnes Gonxha Bojaxhiu) มีบิดาเป็นชาวคริสต์ที่เคร่งครัดในหลักศาสนา ซึ่งทำให้ตั้งแต่วัยเด็กแอ็กเนสชอบไปโบสถ์ฟังหลวงพ่อเทศน์มาโดยตลอด

ขณะแอ็กเนสมีอายุ 9 ปี ในปี พ.ศ. 2462 (ค.ศ. 1919) บิดาของเธอได้เสียชีวิตลง แต่ความอบอุ่นภายในครอบครัวที่แอ็กเนสได้รับก็ไม่ได้ลดลง ด้วยเพราะมารดายังให้ความรักความอบอุ่นและการเลี้ยงดูที่ดีมาตลอด แอ็กเนสเติบโตขึ้นเป็นเด็กร่าเริง และมีสุขภาพดี และไม่นานต่อมาเธอก็ได้รู้จักกับประเทศอินเดีย แต่ก็ได้รู้ว่าอินเดียในขณะนั้นมีระบบสาธารณูปโภคที่ยังล้าหลังอยู่มาก มีคนยากไร้มากมายในประเทศที่ต้องทนทรมาน และเริ่มสงสัยว่า จะมีวิธีใดบ้างไหมที่เธอจะได้ช่วยเหลือผู้ทุกข์ยากในอินเดีย ซึ่งในช่วงเวลานี้นี่เองที่แอ็กเนสเริ่มมีความคิดที่จะบวชเป็นแม่ชี

ในปี พ.ศ. 2471 (ค.ศ. 1928) แอ็กเนสตัดสินใจขออนุญาตครอบครัวเพื่อขอบวชเป็นแม่ชี ตอนแรกครอบครัวคัดค้าน แต่ต่อมาไม่กี่วันทางครอบครัวก็ยอมให้เธอบวช แอ็กเนสเดินทางไปบวชที่สำนักชีโลเรโต (Sisters of Loreto) ในกรุงดับลิน ประเทศไอร์แลนด์ ซึ่งการลาจากจากครอบครัวของเธอในครั้งนี้จะเป็นครั้งสุดท้ายที่เธอจะได้เห็นหน้าของแม่และน้องสาว [4] แอ็กเนสตั้งใจศึกษาเล่าเรียนวิชาที่แม่ชีพึงได้เรียนเป็นเวลา 1 เดือน หลังจากนั้นจึงเดินทางไปยังประเทศอินเดียในเดือนธันวาคมปีเดียวกัน และได้เริ่มออกเผยแผ่คำสอนในเมืองดาร์จีลิง รัฐสิกขิม ทางเหนือของประเทศอินเดีย โดยเธอได้พักอยู่ที่สำนักชีโลเรโตที่ตั้งอยู่ที่เมืองดาร์จีลิง

พ.ศ. 2474 (ค.ศ. 1931) แอ็กเนสตัดสินใจเข้าสาบานตนเป็นแม่ชีในสำนักชีโลเรโต ในเมืองดาร์ลีจิงเป็นครั้งแรก และตอนนี้เองที่แอ็กเนสได้รับสมญาทางศาสนา (ชื่อทางศาสนา) ว่า แม่ชีเทเรซา และแม่ชีเทเรซา ได้สาบานตนครั้งสุดท้ายใน พ.ศ. 2480 (ค.ศ. 1937)
หลังจากสาบานตนเป็นแม่ชีครั้งสุดท้ายแล้ว แม่ชีเทเรซาได้เข้าเป็นครูวิชาภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ในโรงเรียนสตรีเซนต์มาเรีย ในเมืองเอนทาลี นครกัลกัตตา ไม่นาน ก็ได้เป็นครูใหญ่ของโรงเรียนสตรีเซนต์มาเรีย พาตนเองและเหล่านักเรียนผ่านเหตุการณ์เลวร้าย ที่เกิดจากผลกระทบของเหตุการณ์รุนแรงและสงครามที่เกิดขึ้นต่อเนื่องในอินเดียมาได้ด้วยดี

ภารกิจการกุศล
เมื่อวันที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2489 (ค.ศ. 1946) ขณะที่แม่ชีเทเรซากำลังนั่งรถไฟกลับไปยังสำนักชีที่ทาร์จีลิง ระหว่างทางเธอก็ได้ยินพระวจนะของพระเจ้า ซึ่งเนื้อหาที่พระเจ้าพูดกับแม่ชีเทเรซาในขณะนั้น ทำให้แม่ชีเทเรซาตัดสินใจขออนุญาตไปทำงานในสลัม เพื่อช่วยเหลือคนยากจน แต่การทำแบบนั้นถ้าหากทำโดยไม่ได้รับการอนุญาตเป็นพิเศษจะถือว่ามีความผิดทางศาสนา แม่ชีเทเรซาจึงขอให้บาทหลวงใหญ่ (หัวหน้าบาทหลวง ในชุมชนหนึ่งๆ ซึ่งอาจอยู่ตั้งแต่ระดับเมือง ภูมิภาค หรือประเทศ จะมีเพียงหนึ่งท่าน) ขอร้องไปยังพระสันตะปาปา ให้อนุญาตแม่ชีเทเรซาเป็นกรณีพิเศษ

ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2491 (ค.ศ. 1948) แม่ชีเทเรซาได้รับอนุญาตเป็นพิเศษให้ไปทำงานในสลัมได้ แต่ก่อนนั้นต้องให้มีความรู้เพียงพอเสียก่อน ซึ่งเธอก็ได้เดินทางไปศึกษาวิชาพยายาลที่โรงพยาบาลแห่งหนึ่งในเมืองปัตนา รัฐพิหาร เมื่อศึกษาจบแม่ชีเทเรซาก็ได้ก่อตั้งโรงเรียนกลางแจ้งในสลัม มีเด็กๆ ให้ความสนใจมาเรียนกันมามากมาย หลังจากนั้นไม่นานก็เริ่มมีศิษย์เก่าจากโรงเรียนสตรีเซนต์มาเรียมาขอบวชเป็นผู้ช่วยแม่ชีเทเรซา โดยคนแรกที่มาขอบวช คือ "สวาชินี ดาส" เมื่อบวชแล้วได้รับสมญาทางศาสนาว่า "แม่ชีแอ็กเนส" และไม่นานก็มีศิษย์เก่ามาบวชเพิ่มอีกถึง 10 คน

ในวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2493 (ค.ศ. 1950) บาทหลวงใหญ่ได้ตั้งกลุ่มของแม่ชีเทเรซาให้เป็นองค์กรอิสระทางศาสนา มีชื่อว่า "คณะมิชชันนารีแห่งความรักของพระเจ้า" (Missionaries of Charity) โดยแม่ชีเทเรซาได้เป็นหัวหน้าองค์กร ซึ่งนับตั้งแต่นั้นมาผู้คนส่วนใหญ่มักเรียกแม่ชีเทเรซาว่า คุณแม่เทเรซา (Mother Teresa)
วันหนึ่งแม่ชีเทเรซาได้คิดที่จะสร้างบ้านหลังหนึ่ง เพื่อให้ผู้หิวโหยที่นอนรอความตายอยู่ข้างถนนนั้นได้มานอนตายอย่างสงบ และด้วยเหตุนี้ท่านจึงขอยืมให้วัดกาลีของศาสนาฮินดูใช้เป็น "บ้านของผู้รอความตาย" (Home for the Dying) โดยเริ่มเปิดใช้ในปี พ.ศ. 2495 (ค.ศ. 1952) แต่ชาวฮินดูพอสมควรที่ไม่เห็นด้วยกับการที่คุณแม่เทเรซาซึ่งเป็นชาวคริสต์ จะมาใช้วัดของชาวฮินดูเป็นสถานที่ แต่เมื่อผู้บัญชาการตำรวจเข้าไปคุยกับคุณแม่เทเรซา ก็ได้ผลสรุปว่าคุณแม่เทเรซายังใช้สถานที่วัดกาลีอยู่ได้ต่อ
เมื่อปี พ.ศ. 2498 (ค.ศ. 1955) มีผู้ใจบุญบริจาคบ้านให้แก่คณะมิชชันนารีแห่งความรักของพระเจ้า เพื่อให้ทางคณะฯ ได้ใช้งานบ้านให้เป็นประโยชน์ต่อคุณแม่เทเรซาและส่วนรวม คุณแม่เทเรซาได้ตัดสินใจใช้บ้านหลังนี้ในการรับเลี้ยงเด็กกำพร้า ตั้งชื่อว่า "บ้านเด็กใจบุญ" (Children's Home of the Immaculate Heart)

พ.ศ. 2500 (ค.ศ. 1957) คุณแม่เทเรซาเริ่มใช้รถพยาบาลเคลื่อนที่ออกรักษาผู้ป่วยที่เป็นชาวไร่ชาวนา โดยโรคที่ชาวไร่ชาวนาป่วยมากที่สุดคือ โรคเรื้อน แต่ในช่วงนั้นสังคมอินเดียยังมองเห็นผู้ป่วยโรคเรื้อนเป็นสิ่งน่ารังเกียจ ผู้ป่วยโรคเรื้อนจึงคิดว่าคนเองไม่มีค่า คุณแม่เทเรซาจึงเริ่มคิดถึงปัญหานี้

พ.ศ. 2508 (ค.ศ. 1965) ที่ทำการของแม่ชีเทเรซาที่อยู่นอกประเทศอินเดียเริ่มเปิดทำการ มีทั้งในยุโรป อเมริกา ออสเตรเลีย
ไม่กี่ปีต่อมา ผู้ว่าการรัฐเบงกอลตะวันตกได้ให้คุณแม่เทเรซายืมใช้แปลงที่ดินที่เมืองอาซันซอลขนาด 140,000 ตารางเมตร (ประมาณ 87.5 ไร่) เพื่อให้ใช้เป็นสถานสงเคราะห์ผู้ป่วยโรคเรื้อน คุณแม่เทเรซาได้แบ่งสรรที่ดินไว้อย่างลงตัว แต่ไม่มีเงินจะสร้างสิ่งปลูกสร้างที่ได้ออกแบบไว้ คุณแม่เทเรซานั่งครุ่นคิดอยู่สักพักก็นึกขึ้นได้ว่าพระสันตะปาปาเคยมอบรถยนต์เปิดประทุนสีขาวบริสุทธิ์ชั้นดี ถ้าขายเฉยๆ จะได้ราคา 100,000 รูปี (ประมาณ 400,000 บาท) แต่นั่นยังไม่เพียงพอ คุณแม่เทเรซาตัดสินใจทำสลาก โดยเอารถคันนั้นเป็นรางวัล ทำสลาก 5,000 ใบ ขายสลากใบละ 100 รูปี (ประมาณ 400 บาท) ใครถูกรางวัลจะได้รับรถพระสันตะปาปาไป การขายสลากแบบนี้ คณะมิชชันนารีของคุณแม่เทเรซา ได้รับเงินถึง 500,000 รูปี (ประมาณ 2,000,000 บาท) ในที่สุดคณะมิชชันนารีของคุณแม่เทเรซาก็ได้สร้างที่ดินขนาดกว่า 80 ไร่ ให้เป็นหมู่บ้านในฝันของผู้ป่วยโรคเรื้อนได้สำเร็จใน พ.ศ. 2511 (ค.ศ. 1968) ตั้งชื่อว่า "หมู่บ้านสันติสุข" มีทั้งโรงพยาบาลและที่อยู่ทั้งสำหรับเหล่าแม่ชีและเหล่าผู้ป่วย มีผู้ป่วยโรคเรื้อนขอเข้ารับการรักษาที่หมู่บ้านสันติสุขนี้มากกว่า 15,000 คน

ไม่นานหลังจากนั้น แม่ชีเทเรซา ก็เปิดที่ทำการอีกแห่งหนึ่ง คราวนี้เป็นการนำกาบมะพร้าวมีรีไซเคิล โดยนำใยมะพร้าวด้านในมาผลิตเป็นสินค้า ตั้งแต่แปรงขัดหม้อ จนถึงพรมนุ่มๆ สินค้าบางชิ้นมีคุณภาพดี ก็สามารถนำไปขายในเมืองได้
ไม่นานต่อมา คุณแม่เทเรซาเมื่อรู้ว่า สายการบินต่างๆ จะจัดการอาหารที่ผู้โดยสารกินเหลือโดยการทิ้งทั้งหมด จึงไปขอให้บริษัทสายการบินแอร์อินเดีย มอบอาหารที่ผู้โดยสารกินเหลือมาเป็นอาหารแก่เด็กๆ ใน บ้านเด็กใจบุญ

ในปี พ.ศ. 2522 (ค.ศ. 1979) คุณแม่เทเรซาได้รับเกียรติให้รับรางวัลโนเบล สาขาสันติภาพ ในฐานะ "สำหรับการอาสาต่อสู้เพื่อลดความยากจนทุกข์ยากซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการนำไปสู่ความสงบสุขและสันติ" (for work undertaken in the struggle to overcome poverty and distress, which also constitute a threat to peace.) นอกจากนี้ คุณแม่เทเรซาปฏิเสธงานเลี้ยงฉลองที่ท่านได้รับรางวัลโนเบล และขอใหผู้ที่ทำเค้กฉลองมาแล้ว นำเค้กไปมอบให้คนยากคนจน

คุณแม่เดินทางไปเยือนประเทศญี่ปุ่นในปี พ.ศ. 2524 (ค.ศ. 1981) ซึ่งก็ได้ตระเวนปราศรัยไปตามที่ต่างๆ ในประเทศ เนื้อหาส่วนใหญ่คือ ความเหลื่อมล้ำในสังคม การรังเกียจคนจรจัด การกลั่นแกล้งประทุษร้ายกันในญี่ปุ่น
พ.ศ. 2525 (ค.ศ. 1982) อิสราเอลมีสงครามกับองค์กรปลดปล่อยปาเลสไตน์ จนเกิดการสู้รบรุนแรงในแถบเอเชียตะวันตก คุณแม่เทเรซาก็เดินทางเข้าไปเพื่อช่วยเหลือเด็กๆ ที่ติดค้างในสถานที่ต่างๆ มาได้ 37 คน
แม่ชีเทเรซา รับของขวัญจากประธานาธิบดีโรนัลด์ เรแกน ภาพนี้ถ่ายเมื่อ พ.ศ. 2528 (ค.ศ. 1985)

บั้นปลายชีวิต
พ.ศ. 2526 (ค.ศ. 1983) ขณะคุณแม่เทเรซาไปเยี่ยมสถานสงเคราะห์แห่งหนึ่งในอิตาลี ทานก็เริ่มป่วยเป็นโรคหัวใจ และมีอาการกำเริบครั้งแรก โดยมีหัวใจเต้นอ่อนเกินไป แต่ปลอดภัย หลังจากนั้น คุณแม่เทเรซาก็ทำงานอยู่เหมือนปกติ แต่อาการโรคหัวใจก็มาเยือนอยู่เรื่อยๆ จนในที่สุด คุณแม่เทเรซา ได้ยื่นจดหมายต่อพระสันตะปาปา ว่า ขอลาออกจากตำแหน่งหัวหน้าคณะมิชชันนารีแห่งความรักของพระเจ้า พร้อมกับอยากให้มีการเลือกตั้งขึ้นเพื่อเลือกผู้ที่จะมาสืบทอดตำแหน่งจากตน ตอนแรกเหล่าแม่ชีต่างคัดค้าน แต่เมื่อรู้ว่าคุณแม่เทเรซาจะให้จัดการเลือกตั้งผู้สืบทอดตำแหน่ง จึงเทคะแนนเสียงให้คุณแม่เทเรซา แล้วผลการเลือกตั้งก็คือ คุณแม่เทเรซาก็ได้รับเลือกตั้งกลับมาเป็นหัวหน้าคณะฯ อีกครั้ง
การทำงานของท่านก็มีอาการโรคหัวใจกำเริบมารบกวนท่านบ่อยขึ้น อาการป่วยในระดับหนักมากเกิดขึ้นกับแม่ชีเทเรซาอีกใน พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989) และอีกครั้งใน พ.ศ. 2539 (ค.ศ. 1996) หลังจากนั้น คุณแม่เทเรซา ก็ป่วยหนักถึงขนาดล้มหมอนนอนเสื่อ ลุกนั่งไม่ได้

เมื่อคุณแม่เห็นว่าตนคงไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ในวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2540 (ค.ศ. 1997) จึงได้ลาออกจากตำแหน่งหัวหน้าคณะมิชชันนารีแห่งความรักของพระเจ้าอีกครั้ง ครั้งนี้เหล่าแม่ชีเห็นว่า คุณแม่เทเรซาควรได้พักผ่อน เพื่อต่อสู้กับโรคร้าย จึงไม่คัดค้านในการลาออกของคุณแม่เทเรซา และไม่เทคะแนนเสียงให้คุณแม่เทเรซา เพื่อให้คุณแม่ได้พักรักษาตัวไม่ต้องมีภารกิจ ดังนั้นแม่ชีนิรุมาราได้รับเลือกเป็นหัวหน้าคณะมิชชันนารีแห่งความรักของพระเจ้าแทนคุณแม่เทเรซา

5 เดือนครึ่งต่อมา ในวันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2540 (ค.ศ. 1997) คุณแม่เทเรซาได้เสียชีวิตลงที่บ้านของคุณแม่ในอินเดีย ขณะอายุ 87 ปี กับอีก 10 วัน โดยคำพูดคำสุดท้ายที่คุณแม่ได้พูดออกมาคือ "หายใจไม่ออกแล้ว" ทางการอินเดียได้จัดพิธีศพของคุณแม่เทเรซาอย่างยิ่งใหญ่ เป็นงานศพระดับชาติ (งานศพของบุคคลที่ทุ่มเทอุทิศตนเพื่อประเทศนั้นๆ) ของทางการอินเดีย
ในช่วงเวลาที่คุณแม่เสียชีวิต คณะมิชชันนารีแห่งความรักของพระเจ้ามีแม่ชีมากว่า 4,000 คนและอาสาสมัครกว่าอีก 1 แสนคน ซึ่งอัตรานี้ครอบคลุมไปถึงกว่า 610 แห่ง 123 ประเทศทั่วโลก ปัจจุบันร่างของแม่ชีนอนหลับอยู่ที่บ้านคุณแม่ในอินเดีย

เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2546 (ค.ศ. 2003) สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2 ได้ประกาศให้คุณแม่เป็น นักบุญราศี